Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12185
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกื้ออนันต์ เตชะโต | - |
dc.contributor.author | กนกกาญจน์ น้อยสุข | - |
dc.date.accessioned | 2019-04-02T06:40:25Z | - |
dc.date.available | 2019-04-02T06:40:25Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12185 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | Thailand is located in the tropical zone with longer summers than the rainy season. The roof is therefore an important part of a building receiving the most heat from the sun in the daytime. Normally the tiled roofs absorb the heat and transfer to the building. Green roofs can reduce heat from the sun by the shading from leaves. It protects the tile from heat leading to the thermal comfort of in the building and saving energy. The objective of this study was to design the air plant holding equipment for Tillandsia (cotton candy) as green roof. The holding equipment must be weather resistant, normal plant growing, and the low cost. The selection of materials is based on the properties which must have no effect to the growth of plants and environment friendly. In experiment, the mock-up of 1x1 m2 have been built with slope of 30 degrees. It is used for the installation of air plant holding equipment i.e. plastic cladding aluminum rod, modified plastic bottle, and aluminum rod. The experiment of air plant holding equipment was done with plants for 12 months (from May 2015 to April 2016) covering both summer and rainy season. The results showed that the total leaf area of the plant panel was increased from 69 to 81%, indicating that the three selected species did not have problem in growth. The plants had fallen around 2-10 points from the equipment mostly in the rainy season because of the wind. The redesigned from aluminum rod by adding rod is a must in order to hold the plant tight to be suitable for the production of prototype equipment for green roofs. | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | th_TH |
dc.subject | หลังคาเขียว (การทำสวน) การออกแบบ | th_TH |
dc.subject | อาคารแบบยั่งยืน การออกแบบ | th_TH |
dc.subject | การออกแบบอย่างยั่งยืน | th_TH |
dc.subject | สถาปัตยกรรมแบบยั่งยืน | th_TH |
dc.title | การออกแบบอุปกรณ์ยึดพืชอากาศ Tillandsia (cotton candy) เพื่อเป็นหลังคาสีเขียว | th_TH |
dc.title.alternative | Designing of the Air Plant Holding Equipment for Tillandsia (cotton candy) as Green Roof | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Environmental Management (Environmental Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstract-th | ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้นที่มีฤดูร้อนยาวนานกว่าฤดูฝน หลังคาเป็นส่วนประกอบ สําคัญของอาคารได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากที่สุดในตอนกลางวัน กระเบื้องที่ใช้มุงหลังคา มีคุณสมบัติดูดซับความร้อนและถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคารทําให้เกิดความร้อน หลังคาเขียวช่วย ลดความร้อนจากดวงอาทิตย์ใบไม้จะเป็นร่มเงาปกป้องกระเบื้องจากความร้อนทําให้อุณหภูมิภายใน อาคารอยู่ในภาวะน่าสบาย (Thermal Comfort) และประหยัดพลังงาน การศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อออกแบบอุปกรณ์ยึดพืชอากาศต้น Tillandsia (cotton candy) เป็นหลังคาสีเขียวที่มี ความทนทานต่อสภาพอากาศ พืชเจริญเติบโตได้ และใช้ต้นทุนน้อย โดยจําลองหลังคากระเบื้อง ลอนคู่ขนาด 1 x 1 x 1 เมตร มีความลาดเอียง 30 องศา สําหรับใช้ติดตั้งอุปกรณ์ยึดพืชอากาศที่ได้ ออกแบบ หลังที่ 1 ติดตั้งอุปกรณ์ยึดพืชแบบลวดอลูมิเนียมหุ้ม หลังที่ 2 ติดตั้งอุปกรณ์ยึดพืชแบบที่ 2. ขวดน้ําพลาสติก และหลังที่ 3 ติดตั้งอุปกรณ์ยึดพืชแบบที่ 3 ลวดอลูมิเนียมกลม เพื่อทดสอบ คุณสมบัติทางกายภาพของอุปกรณ์ร่วมกับพืชทดลอง ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2558 ถึง 30 เมษายน 2559 เป็นเวลา 12 เดือน ครอบคลุมทั้งฤดูร้อนและฤดูฝน ผลการทดลอง พบว่า พื้นที่ใบรวมของพืช บนแผงอุปกรณ์ยึดพืชอากาศเพิ่มขึ้น 69-81 % ซึ่งแสดงให้เห็นว่าวัสดุที่ได้คัดเลือกทั้ง 3 ชนิด ไม่ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของต้น Tillandsia (coton candy) ซึ่งพืชจะหลุดจากอุปกรณ์มาก สุดในช่วงฤดูฝน เพราะมีลมแรง โดยพืชหลุด 2-10 ต้น จากนั้น ทําการออกแบบใหม่ต่อจากแบบ ลวดอลูมิเนียมกลมให้มีลวดคาดกลางเพื่อให้การหลุดลดลงมีความเหมาะสมในการผลิตเป็น ต้นแบบอุปกรณ์สําหรับหลังคาเขียวแบบ Air Plant | - |
Appears in Collections: | 820 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
420180.pdf | 5.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.