Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12089
Title: Marketing Mix from the Perspective of Islamic Economics (Application)
Authors: Mohamed Lamine Sylla
Mahamedi, Djamel
College of Islamic Studies (Islamic Studies)
วิทยาลัยอิสลามศึกษา (อิสลามศึกษา)
Keywords: Islamic Economics;อิสลามศึกษา
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University, Pattani Campus
Abstract: The study aimed to understand the concept of marketing from the perspective of the Islamic economy and the reality of its development in the strategies of Islamic institutions1 and also highlight the marketing mix in its Islamic concept and to show the most important differences between it and the traditional marketing mix And to study the extent of application the elements of the Islamic marketing mix in some Islamic establishment in southern Thailand, and extract its developmental effects and results obtained from the marketing operations of the marketing mix in those institutions. The researcher used inductive methodology and comparative approach on the theoretical side of the study, by collecting information from various sources and references related to the subject of the study, and clarifying the difference between the marketing mix from the Islamic perspective and the traditional perspective. The analytical method was used to analyse the results and information obtained from personal interviews with some managers and institutional officials Islamic countries on the extent of their application to the Islamic marketing mix and its impact on economic development. One of the most important findings of the study is that marketing from an Islamic perspective is based on integrated operations aimed at the well-being and self-sufficiency of individuals without squandering or waste of wealth and linking their operations with Islamic values and principles to achieve sustainable development economically and socially. Islamic marketing is a traditional marketing that is committed to the principles and principles of Islamic Sharia in all its operations and strategies developed from the production institutions, services and directed to individuals, unlike conventional marketing, which focuses on the operations of the economic schools and studies and research on consumption and consumers to maximize profitability and market shares . As marketing is an essential element in the structure of institutions and the use of its own capabilities to achieve the established objectives, the application of marketing in the Islamic institutions selected as a sample for research is still limited to the lack of a special section of marketing in their management structures and lack of the necessary cadre and specialist in marketing. Despite the limited marketing activities and the activation of the marketing mix in these institutions, they showed good results in achieving their objectives. การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาแนวคิดด้านการตลาดจากมุมมองของเศรษฐศาสตร์อิสลามและความเป็นไปได้ในการพัฒนายุทธศาสตร์การตลาดของสถาบันอิสลาม โดยเน้นศึกษาการผสมผสานด้านการตลาดในแนวคิดอิสลามและนำเสนอข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างการทำการตลาดในรูปแบบอิสลามกับในรูปแบบอื่นๆ รวมทั้งมีการลงพื้นที่เข้าไปศึกษาถึงขอบเขตในการประยุกต์ใช้หลักการการทำตลาดแบบอิสลามในสถาบันอิสลามบางสถาบันในภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อนำเสนอข้อมูล บทวิเคราะห์และบทสรุปที่ได้มาจากการศึกษานี้ ในด้านทฤษฎีนักวิจัยได้ใช้วิธีการอุปนัยและวิธีเปรียบเทียบในการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและเพื่อใช้ชี้ชัดถึงข้อแตกต่างระหว่างการตลาดแบบผสมผสานในรูปแบบอิสลามและการตลาดในรูปแบบอื่นๆ อีกทั้งได้ใช้วิธีการวิเคราะห์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์กรรมการและพนักงานของสถาบันกลุ่มเป่าหมายถึงขอบเขตในการประยุกต์ใช้หลักการการทำตลาดแบบอิสลามในองค์กรของพวกเขา และผลพวงของมันต่อการพัฒนาเศรษฐกิจขององค์กร ผลการศึกษาพบว่า การตลาดแบบอิสลามนั้นยึดหลักการการดำเนินการแบบบูรณาการโดยมีเป้าหมายคือสร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและความพอเพียงโดยปราศจากความสุรุ่ยสุราย และมีการเชื่อมโยงการทำการตลาดกับค่านิยมและหลักการของศาสนาอิสลามเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมควบคู่กันไปอย่างยังยืน และจากการที่มันยึดหลักการอิสลามในการดำเนินงานและในการเลือกใช้กลยุทธ์ในทุกขั้นตอนการบริหารจัดการ จึงทำให้มันแตกต่างจากการตลาดแบบทั่วไปอย่างเด่นชัด นั้นอาจเป็นเพราะว่าการตลาดแบบทั่วไปมักมุ่งเน้นการเพิ่มพูนผลกำไรและส่วนแบ่งทางการตลาดหรือผลประโยชน์ตนเองเป็นที่ตั้งนั้นเอง และจากศึกษาครั้งนี้คงพบอีกว่า ขอบเขตการประยุกต์ใช้การตลาดแบบผสมผสานในสถาบันอิสลาม(กลุ่มเป่าหมาย)นั้นยังค่อนข้างมีขีดจำกัดอยู่ อันเนื่องมาจากยังขาดฝ่ายการตลาดและพนักงานที่มีความชำนาญในด้านดังกล่าวในโครงสร้างการจัดการขององค์กร แต่ถึงอย่างไรก็ตามสถาบันดังกล่าวก็ยังสามารถขับเคลื่อนองค์กรของตัวเองไปสู้เป้าหมายที่วางไว้ได้เป็นอย่างดี
Description: Thesis (M.A.(Islamic Studies))--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12089
Appears in Collections:761 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1525.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.