Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12059
Title: เสถียรภาพของปาล์มน้ำมันเทเนอราในชั่วรุ่นลูก
Other Titles: Stability of tenera oil palm progeny
Authors: ธีระ เอกสมทราเมษฐ์
ธวัชชัย มรกต
Faculty of Natural Resources (Plant Science)
คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์
Keywords: ปาล์มน้ำมัน พันธุ์เทเนอรา
Issue Date: 2017
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The stability of oil palm is its adaption and produce high yield in different environments with low value of genotype x environment interaction. The objective of this study was to evaluate the stability of oil palm progenies in multi-location. Five progenies and one varieties of oil palm (118, 119, 130, 132, 137 and surat thani 2), aged 5 years old, were chosen Songkhla as materials in this study. These progenies were planted in the field at 3 locations: Ranot, Khlong Hoi Khong and Rattaphum districts. Randomized complete design (CRD) with 3 replications was used for the experimental design. Additive main effects and multiplicative interaction (AMMI) was used for stability evaluation of oil palm yield by analyzing with R-program. The results on varietal stability revealed that oil palm progeny number 130 showed high stability in bunch yield and bunch number. Oil palm progeny number 119 was high stability in oil yield and single bunch weight. Oil palm progeny number 118 was high stability in oil per bunch (%). For each location, surat thani 2 could provide bunch number, single bunch weight, bunch yield, oil per bunch (%) and oil yield better than the other progeny at Ranot district. While oil palm progeny number 132 could provide high oil yield and single bunch weight at Khlong Hoi Khong district. The oil palm progeny number 137 exibited of high yield in bunch yield and bunch number while oil palm progeny number 119 showed of high oil per bunch (%) at Rattaphum. Additive main effects and multiplicative interaction can analyze effect of genotype x environment interaction effectively, which is useful a tool to select oil palm for a specific location.
Abstract(Thai): เสถียรภาพของพันธุ์ปาล์มน้ํามันคือความสามารถในการปรับตัว และการให้ผล ผลิตที่ดีในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์ปาล์มน้ํามันกับ สภาพแวดล้อม (GxE interaction) ของผลผลิต วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อประเมิน ความสามารถของคู่ผสมปาล์มน้ํามันในการปรับตัวในหลายสภาพแวดล้อม โดยทําการทดสอบ คู่ผสมปาล์มน้ํามันอายุ 5 ปี จํานวน 5 คู่ผสม ได้แก่ 118 119 130 132 และ137 กับพันธุ์สุราษฎร์ ธานี 2 ใน 3 อําเภอของจังหวัดสงขลา คือ อําเภอรัตภูมิ อําเภอคลองหอยโข่ง อําเภอระโนด วาง แผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 3 ซ้ํา วิเคราะห์หาเสถียรภาพผลผลิตปาล์มน้ํามันของแต่ละ พันธุ์โดยใช้การวิเคราะห์อิทธิพลแบบผลบวกและปฏิสัมพันธ์แบบผลคูณ ด้วยโปรแกรม R พบว่า คู่ผสมที่มีค่าเสถียรภาพสูงในลักษณะผลผลิตทะลาย และจํานวนทะลาย คือ คู่ผสมเบอร์ 130 คู่ผสมมีค่าเสถียรภาพสูงในลักษณะผลผลิตน้ํามัน และน้ําหนัก/ทะลาย คือคู่ผสมเบอร์ 119 และ คู่ผสมมีค่าเสถียรภาพสูงในลักษณะเปอร์เซ็นต์น้ํามัน/ทะลาย คือคู่ผสมเบอร์ 118 และเมื่อ พิจารณาพันธุ์ในแต่ละสถานที่ พบว่าแปลงอําเภอระโนด พันธุ์สุราษฎร์ธานี 2 ให้จํานวนทะลาย น้ําหนัก/ทะลาย ผลผลิตทะลาย เปอร์เซ็นต์น้ํามันทะลาย และผลผลิตน้ํามัน มากกว่าคู่ผสมเบอร์ อื่นๆ แปลงอําเภอคลองหอยโข่ง คู่ผสมเบอร์ 132 ให้ผลผลิตน้ํามัน และน้ําหนักทะลายสูงสุด ส่วน คู่ผสมเบอร์ 137 ให้ผลผลิตทะลาย และจํานวนทะลายสูงสุด และคู่ผสมเบอร์ 119 ให้เปอร์เซ็นต์ น้ํามันทะลายสูงสุด แปลงอําเภอรัตภูมิ การใช้วิธีการวิเคระห์อิทธิพลแบบผลบวกและปฏิสัมพันธ์ แบบผลคูณ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์กับสภาพแวดล้อม ซึ่ง สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจคัดเลือกพันธุ์ปาล์มน้ํามันให้เหมาะสมกับแต่ละสถานที่ได้
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พืชศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12059
Appears in Collections:510 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
419098.pdf991.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.