Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11819
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | McNeil, Nittaya | - |
dc.contributor.author | Kattel, Sumitra | - |
dc.date.accessioned | 2018-04-24T07:55:36Z | - |
dc.date.available | 2018-04-24T07:55:36Z | - |
dc.date.issued | 2016 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11819 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.(Research Methodology))--Prince of Songkla University, 2016 | th_TH |
dc.description.abstract | Linear growth faltering is one chronic form of malnutrition which is more serious in children due to its irreversible nature. Linear growth faltering among under five years children in Nepal, despite of rapid improvement of the status in South Asia, is still 41%. The aim of this study is to investigate socioeconomic and demographic determinants of linear growth among children aged under five years in Nepal. Data were obtained from the Nepal Demographic Health Survey (NDHS), which was conducted in 2011. The linear growth (Height for Age Z score) of 2,330 children was examined. T- test and Analysis of variance (ANOVA) were used to compare the mean of the outcome. Multiple linear regression was used to determine associated factors of linear growth. The mean and standard deviation of linear growth of Nepalese children under 5 year was found to be -1.73 ± 1.48. Results indicated that the children's linear growth was affected negatively due to various contextual factors including varied socioeconomic status, mother’s educational attainment and height, geographical region and place of residence. The poorest households, older age of children, mother's having no education and living in a rural area were found to be negatively associated with linear growth. การเจริญเติบโตเชิงเส้นที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ (linear growth faltering) เป็นปัญหาที่เกิดจากการขาดภาวะโภชนาการที่ดี ถึงแม้ว่าปัญหานี้จะได้มีการแก้ใขในประเทศเอเซียใต้ แต่ประเทศเนปาลยังคงมีปัญหานี้อยู่ในเด็กอายุต่่ากว่าห้าขวบร้อยละ 41 ดังนั้นการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยทางด้านประชากร และเศรษฐกิจสังคมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็กอายุต่่ากว่าห้าขวบในประเทศเนปาล โดยใช้ช้อมูลการส่ารวจสภาวะสุขภาพประชาชนประเทศเนปาล (Nepal Demographic Health Survey: NDHS) พ.ศ. 2554 การศึกษานี้มีหน่วยตัวอย่างทั้งหมดจ่านวน 2,330 คน ตัวแปรตามคือส่วนสูงเทียบกับส่วนสูงมาตรฐานในเด็กอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน (Height for Age Z score) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามจ่าแนกตามปัจจัยต่าง ๆ โดยใช้ การทดสอบ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple linear regression) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับการเจริญเติบโต ผลการศึกษาพบว่า การเจริญเติบโตของเด็กที่มีอายุต่่ากว่าห้าขวบประเทศเนปาล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ -1.73 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.48 และตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตได้แก่ สถานะภาพทางสังคม การศึกษาของมารดา ส่วนสูงของมารดา สภาพทางภูมิศาสตร์ และที่อยู่อาศัย โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เชิงลบกับการเจริญเติบโตคือ ครัวเรือนที่ยากจน กลุ่มเด็กที่มีอายุมากกว่า มารดาที่ไม่มีการศึกษา และอาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท | th_TH |
dc.language.iso | en_US | th_TH |
dc.publisher | Prince of Songkla University, Pattani Campus | th_TH |
dc.subject | Children | th_TH |
dc.subject | Nepal | th_TH |
dc.title | Determinants of Linear Growth among Children Aged under Five Years in Nepal | th_TH |
dc.title.alternative | ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตเชิงเส้นของเด็กอายุต่ำกว่าห้าขวบ ประเทศเนปาล | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Sciecnce and Technology (Mathematics and Computer Science) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ | - |
Appears in Collections: | 746 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TC1480.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.