กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11755
ชื่อเรื่อง: ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ การจำลอง และการสร้างภาพของดินถล่ม
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Mathematical Model, Simulation and Visualization of Landslide
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ช่วยอารีย์, สมพร
ธรรมหิเวศ, กัณณพนต์
คำสำคัญ: คณิตศาสตร์;ดิน
วันที่เผยแพร่: 2559
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
บทคัดย่อ: วิทยานิพนธ์นี้ได้ศึกษาตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์สำหรับการวิเคราะห์โครงสร้างดินโดยพิจารณาปัจจัยด้านปริมาณน้ำในดินและความลาดชันที่มีผลต่อการถล่มของดิน ศึกษาการเปลี่ยนรูปของลาดดินที่มีผลจากแรงภายนอก การกระจายความเครียดและเกณฑ์การวิบัติของลาดดินด้วยตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์และคำนวณหาผลเฉลยด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ผลเฉลยเชิงตัวเลข ขั้นตอนวิธีและการสร้างภาพ 3 มิติโดยซอฟต์แวร์ SoilFE 1.0 ซึ่งได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ซอฟต์แวร์ Lazarus และ OpenGL ซอฟต์แวร์นี้สามารถใช้วิเคราะห์กำลังรับแรงเฉือนของดินและประเมินการเกิดดินถล่ม และสามารถนำไปใช้วิเคราะห์กับพื้นที่อื่น ๆ ได้ ซอฟต์แวร์นี้สามารถนำผลเฉลยเชิงตัวเลขที่ได้มาแสดงให้เห็นว่าค่าความครากมีค่าแปรผันตามปริมาณน้ำในดินและพื้นที่บริเวณไหล่เขาจะมีค่าความครากมากกว่าพื้นที่ดอนหรือพื้นที่อื่น ๆ ซึ่งพื้นที่นี้จะมีโอกาสวิบัติมากที่สุดIn this research, we propose a mathematical model for analyzing the soil structure by water content and slope factors that cause to the landslide problem. A deformation of slope is the result of external forces. A distribution of stress that occurs along the slope and slope failure criteria are based on mathematical model and computed by the finite element method. The numerical solution shows the result from mathematical model, algorithm and visualization in three-dimensional space by the investigating software namely SoilFE version 1.0 programmed by Lazarus software and OpenGL library. SoilFE 1.0 can analyze the shear strength along slope and landslide evaluation. The software can be applied for other regions. An application of this numerical method could be seen that the yield varies according to the water content. Also a foot of the hill has a yield more than upland and other areas, so that this area has the biggest opportunities to fail.
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(คณิตศาสตร์ประยุกต์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11755
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:722 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
TC1423.pdf9.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น