Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสวัสดี ยอดขยัน-
dc.contributor.authorพัทวี ศรีระษา-
dc.date.accessioned2018-03-14T04:20:21Z-
dc.date.available2018-03-14T04:20:21Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11721-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (ธรณีฟิสิกส์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560th_TH
dc.description.abstractHat Yai Basin is a Quaternary sediment basin in the southern part of Songkhla lake basin. The geological structure is thought to be graben and horst structure. Understanding subsurface of this area is important because it is located in the economic zone. Seismic reflection and multichannel analysis of surface wave (MASW) method were conducted nearby the boundary of the Hat Yai basin to characterize the subsurface geological structure and to determine the depth to bedrock. Two survey lines, locating in the east and west of the basin, were investigated nearby the boundary of the Hat Yai Basin with a total length of 5.3 kilometers. The study shows that the seismic sections, seismic tomography and V sections could assist in the delineation of subsurface at about 150 m depth. The thickness of Quaternary sedimentary layers of the first survey and the second survey line is about 50 m and 70 m, respectively. The depth of bedrock is approximately more than 100 m. The appearance of seismic discontinuities in seismic section is interpreted to be paleochannel in the shallow subsurface of Quaternary sediment. This study can develop more details of the hydrogeological structure.-
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์th_TH
dc.subjectการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ หาดใหญ่ (สงขลา)th_TH
dc.subjectคลื่นไหวสะเทือนth_TH
dc.subjectการสำรวจด้วยวิธีคลื่นไหวสะเทือนth_TH
dc.subjectชั้นน้ำบาดาล หาดใหญ่ (สงขลา)th_TH
dc.titleภาพตัดขวางคลื่นไหวสะเทือนของแอ่งหาดใหญ่th_TH
dc.title.alternativeSeismic Section of Hatyai Basinth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Physics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์-
dc.description.abstract-thแอ่งหาดใหญ่เป็นแอ่งสะสมตะกอนในยุคเทอร์เทียรี ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของลุ่มน้ํา ทะเลสาบสงขลา มีลักษณะธรณีสัณฐานโครงสร้างแบบกราเบน (Graben) ซึ่งเป็นที่ตั้งของแหล่ง เศรษฐกิจที่สําคัญในทางภาคใต้ของประเทศไทย การทําความเข้าใจโครงสร้างใต้ผิวดินเกี่ยวกับแอ่ง หาดใหญ่นั้นมีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง งานวิจัยในครั้งนี้จึงได้ทําการสํารวจโครงสร้างภายในแอ่ง หาดใหญ่ด้วยวิธีคลื่นไหวสะเทือน และวิธีวัดคลื่นพื้นผิวแบบหลายช่องรับสัญญาณ (Multi-channel Analysis of Surface Wave, MASW) โดยมีแนวสํารวจ 2 แนวสํารวจ เป็นระยะทางรวมทั้งหมด 5.3 ซึ่งแนวสํารวจทั้งสองแนวอยู่ทางทิศตะวันออก และทางทิศตะวันตกของแอ่ง กิโลเมตร ผลการศึกษาโครงสร้างของชั้นใต้ผิวดินด้วยวิธีการทั้งสองนี้ร่วมกับข้อมูลหลุมเจาะ สามารถแปลความลักษณะโครงสร้างใต้ผิวดินได้ในระดับความลึกประมาณ 150 เมตร โดยที่ชั้นดิน ตะกอนในยุคควอเทอร์นารีมีความลึกจากผิวดินประมาณ 50 เมตร และ 70 เมตร สําหรับแนวสํารวจ ที่หนึ่งและแนวสํารวจที่สองตามลําดับ ส่วนความลึกของชั้นหินฐานคาดว่ามีความลึกมากกว่า 100 เมตร นอกจากนี้ผลการศึกษาพบบริเวณที่คาดว่าเป็นทางน้ําเก่าปรากฏในแนวสํารวจทั้ง สองแนว โดยอยู่ในชั้นตะกอนยุคควอเทอร์นารี และข้อมูลทางธรณีฟิสิกส์มีความสอดคล้องกับข้อมูล ชั้นน้ําบาดาลในพื้นที่-
Appears in Collections:332 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
420120.pdf9 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.