กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11712
ชื่อเรื่อง: การตรวจสอบสิ่งปลอมปนในน้ำยางจากค่าสภาพยอมไฟฟ้าเชิงซ้อน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Detection of Contamination in Latex based on Complex Permittivity
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: มิตรชัย จงเชี่ยวชำนาญ
ฮูดา โกสุมพันธ์
Faculty of Engineering Computer Engineering
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คำสำคัญ: น้ำยาง การเจือปนและการตรวจสอบ;น้ำยาง แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: This thesis proposes a mathematical model for detecting contaminated latex using complex permittivity. The pure serum samples were prepared by centrifuging field fresh latex samples while the contaminated samples were prepared by adding certain amount of cassava and CaCo, into the pure samples. Complex permittivity measurements in frequencies range 0.5-6 GHz at 25 °C were performed with Agilent 8510E dielectric probe kit equipped with an automatic network analyzer. From the measured complex permittivity of pure and contaminated serum samples at 1 GHz, their conductivity, static permittivity, high-frequency permittivity, and relaxation time can be calculated. These parameters are crucial for formulating a mathematical model for the pure and the contaminated samples which can be used for developing an algorithm to classify pure and contaminated samples. The model for detecting pure and contaminated samples was tested with complex permittivity of latex. The model achieve 92% of accuracy for detecting.
Abstract(Thai): วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการตรวจสอบสิ่งปลอมปนในน้ำยางจากสภาพยอม ไฟฟ้าเชิงซ้อน ได้นำตัวอย่างเซรั่มบริสุทธิ์ที่ได้จากการปั่นน้ำยาง และตัวอย่างเซรั่มที่ปลอมปนด้วยแป้ง มันและแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCog) ไปวัดสภาพยอมไฟฟ้าเชิงซ้อนในช่วงความถี่ 0.5 ถึง 6 GHz ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ด้วยโพรบเซนเซอร์ที่ต่อกับเครื่องวิเคราะห์โครงข่ายอัตโนมัติ ในกรณีศึกษาพบว่าสภาพยอมไฟฟ้าเชิงซ้อนที่ความถี่ 1 GHz ของเซรั่มบริสุทธิ์และเซรั่มที่มีสิ่งปลอมปนสามารถนำไปคำนวณค่าสภาพนำไฟฟ้า (d), ค่าคงตัวไดอิเล็กตริกที่ความถี่ต่ำ (C,), ค่าคงตัวไดอิเล็กตริกที่ความถี่สูง (6,) และค่าเวลาผ่อนคลาย (7) ซึ่งเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญสำหรับสร้างแบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อทำนายสิ่งปลอมปนในน้ำยาง จากการทดสอบแบบจำลองที่สร้างขึ้นพบว่าสามารถใช้สภาพยอมไฟฟ้าเชิงซ้อนของน้ำยางในการตรวจสอบสิ่งปลอมปนในน้ำยางได้ โดยได้ความ ถูกต้องร้อยละ 92
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11712
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:241 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
420097.pdf1.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น