Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11655
Title: | Communication Strategies of English Learners with Different Language Proficiency and Hemispheric Dominance |
Other Titles: | กลวิธีการสื่อสารของผู้เรียนภาษาอังกฤษที่มีความสามารถทางภาษาและสมองซีกควบคุมต่างกัน |
Authors: | Adisa Teo Wilaiwan Ka-J Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics) คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ |
Keywords: | Narration (Rhetoric);English language Rhetoric Study and teaching |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | This qualitative and quantitative study aimed to identify communication strategies applied in an oral narrative task by English learners with different language proficiency and hemispheric dominance; to investigate their different use; and to explore relationships among their English proficiency, hemispheric dominance and communication strategy use. The participants included 100 English major undergraduates in an international program at a private university in Southern Thailand. The instruments covered the Quick Placement Test (QPT), the Brain Dominance Inventory (BDI), a narrative task material, retrospective comments, and semi-structured video-stimulated recall interviews. Data analysis was based on Dornyei and Scott's (1997) communication strategy taxonomy. Descriptive statistics were applied together with Mann-Whitney U Test and Pearson's correlation. The findings indicated that achievement, direct and indirect strategies were more applied by the low proficient learners than the highly proficient ones who were the greater users of avoidance strategies. Significantly different communication strategy use between the two proficiency groups was discovered at mime strategy (p = .03). Among the three groups of different hemispheric dominance, it was found that achievement, direct and indirect strategies were more frequently used by the whole- brained and the left-brained learners than their right-brained counterparts who were the most frequently users of avoidance strategies. Message reduction (p = 0.04) and use of fillers (p = 0.05) strategies were applied differently among the users with different brain patterns. Message reduction was used significantly differently (p = 0.04) among the six groups of learners with different hemispheric dominance and proficiency. Negative correlations (p = 0.05) were discovered among left and right hemispheric dominance with different proficiency in application of avoidance, achievement and indirect strategies. |
Abstract(Thai): | การวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการสื่อสารใน การเล่าเรื่องประกอบภาพของผู้เรียนภาษาอังกฤษที่มีความสามารถทางภาษาและสมองซีกควบคุม ต่างกัน รวมถึงความแตกต่างในการใช้กลวิธีการสื่อสารของกลุ่มตัวอย่าง และความสัมพันธ์ของการใช้ กลวิธีการสื่อสารกับความสามารถทางภาษาและสมองซีกควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักสูตรนานาชาติ) จากมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในภาคใต้ ของประเทศไทย ซึ่งกําลังศึกษาในปีการศึกษา 2558 จํานวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามี 5 รายการ ประกอบด้วย แบบวัดระดับความสามารถทางภาษา แบบวัดซีกสมอง ภาพชุดประกอบการ เล่าเรื่อง แบบแสดงความคิดเห็นย้อนกลับ และการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างโดยใช้วิดีโอประกอบ วิเคราะห์กลวิธีการสื่อสารตามกรอบแนวคิดของ Dornyei และ Scott (1997) โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา Mann-Whitney U Test และค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาต่ําใช้กลวิธีทําให้สําเร็จ กลวิธี ทางตรง และกลวิธีทางอ้อม บ่อยกว่าผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาสูงซึ่งใช้กลวิธีหลีกเลี่ยงสูงกว่า ผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาต่างกันทั้งสองกลุ่มนี้ใช้กลวิธีการใช้ภาษาท่าทางแทนคําพูดแตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = .03) เมื่อศึกษากลวิธีการสื่อสารในกลุ่มผู้เรียนที่มีสมองซีกควบคุม แตกต่างกัน พบว่า ผู้เรียนสมองซีกกลางและผู้เรียนสมองซีกซ้ายใช้กลวิธีทําให้สําเร็จ กลวิธีทางตรง และกลวิธีทางอ้อม สูงกว่าผู้เรียนสมองซีกขวา ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใช้กลวิธีการหลีกเลี่ยงสูงกว่าสองกลุ่มแรก กลุ่มผู้เรียนที่มีสมองซีกควบคุมต่างกันทั้งสามกลุ่มใช้กลวิธีการตัดทอนถ้อยความ (p = 0.04) และ กลวิธีการเติมคําหน่วงเวลา (p = 0.05) แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ กลุ่มผู้เรียนที่มีสมองซีก ควบคุมและความสามารถทางภาษาต่างกันทั้ง 6 กลุ่ม ใช้กลวิธีการตัดทอนถ้อยความ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = 0.04) สมองซีกซ้ายและสมองซีกขวาผนวกกับความสามารถทางภาษา ทั้งระดับต่ําและระดับสูงแสดงความสัมพันธ์เชิงลบกับการใช้กลวิธีหลีกเลี่ยง กลวิธีทําให้สําเร็จ และ กลวิธีทางอ้อม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 |
Description: | Thesis (M.A., Teaching English as an International Language)--Prince of Songkla University, 2017 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11655 |
Appears in Collections: | 890 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
419688.pdf | 3.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.