Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรีรัตน์ สกุลรัตน์-
dc.contributor.authorตะวัน ลันกองพูล-
dc.date.accessioned2018-02-23T03:03:47Z-
dc.date.available2018-02-23T03:03:47Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11633-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560th_TH
dc.description.abstractThe objective of this research is to determine an effective air inlet and outlet patter for a passive composting bin. Synthesis organic wastes and dry leaves with 21 wet weight ratio were composed. Three experiments were set up to (1) determine the best air inlet patter for foam box size 39 L under batch process, (2) determine the best air outlet pattern for foam box size 39 L under batch process and (3) investigate the performance when composting in plastic bin size 120 L with the best air inlet and outlet patterns from the first and second experiment respectively under continuous process. The first experiment, when four air inlet patterns were compared, showed that the composting bin that has a horizontal pipe at the bottom for letting air in and distributing air inside the bin achieved the best performance because microorganisms throughout the composting bin received sufficient air. The composting material was entirely decomposed in 25 days, the fastest, and C/N of the final product was 18.68, pH was 6.97, macronutrients were 4.97% and germination index was 144.79%. The second experiment, when four air outlet patterns were compared and the best air inlet patter from the first experiment was used, showed that the composting bin that has a vertical pipe for letting air out on the top of the bin with less cross sectional area than air inlet pipe achieved the best performance because air velocity is slower allowing microorganisms to expose more to the air. The composting material was entirely decomposed in 27 days, the fastest, and C/N of the final product was 21.09, pt was 7,49, macronutrients were 5.30% and germination index was 97.01%. After that, the organic waste was composted in plastic bin size 120 L, the organic waste was also entirely decomposed in 90 days. C/N of the final product was 15.46, pH was 5.21, macronutrients were 3.59 and germination index was 93.97%. Therefore, the composting bin that has a horizontal pipe at the bottom for letting air in and distributing air inside the bin and has a vertical pipe for letting air out on the top of the bin with less cross sectional area than air inlet pipe can achieve a complete degradation of entire composting materials under batch and continuous processes. C/N, pH and macronutrients of the final product of all three experiemnts meets the fertilizer standard except the moisture content. So that, the final product should be curred or mixed with soil to decrease moisture content before being added to the plants.-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์th_TH
dc.subjectถังหมัก การระบายอากาศth_TH
dc.subjectการหมัก เครื่องมือและอุปกรณ์th_TH
dc.titleรูปแบบทางเข้าและออกของอากาศที่เหมาะสมสำหรับถังหมักปุ๋ยแบบแพสซีฟth_TH
dc.title.alternativeEffective Air Inlet and Outlet pattern for Passive Composting Binth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบทางเข้าและออกของอากาศที่เหมาะสม สำหรับถังหมักมูลฝอยอินทรีย์แบบแพสซีฟ โดยทำการหมักมูลฝอยอินทรีย์ร่วมกับใบไม้แห้งใน อัตราส่วน 2:1 โดยน้ำหนักเปียก ซึ่งประกอบด้วย 3 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 หารูปแบบทางเข้าของอากาศที่ดีที่สุดสำหรับถังหมักโฟมขนาด 39 ลิตร เมื่อเติมวัสดุหมักแบบกะ การทดลองที่ 2 หารูปแบบทางออกของอากาศที่ดีที่สุดสำหรับถังหมักโฟมขนาด 39 ลิตร เมื่อเติมวัสดุหมักแบบกะและการทดลองที่ 3 ศึกษาประสิทธิภาพการหมักเมื่อนำรูปแบบทางเข้าและทางออกที่ได้จากการทดลองที่ 1 และ 2 มาใช้กับถังหมักพลาสติกขนาด 120 ลิตร โดยเติมมูลฝอยแบบต่อเนื่อง 21 วัน จากการทดลองที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบทางเข้าอากาศ 4 รูปแบบ พบว่า ถัง หมักที่มีท่อในแนวนอนด้านล่างถังเพื่อให้อากาศเข้าและกระจายตัวภายในถังให้ประสิทธิภาพการหมัก ที่ดีที่สุด เนื่องจากทำให้จุลินทรีย์ทั่วทั้งถังหมักได้รับอากาศเพียงพอ โดยทำให้วัสดุหมักถูกย่อยสลาย ทั้งหมดในเวลาเร็วที่สุด 25 วัน และวัสดุหมักเมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่า CN 18.68, pH 6.97, ธาตุอาหารหลัก 4.97% และ GI 144.79% ส่วนการทดลองที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบทางออกอากาศ 4 รูปแบบ โดยใช้รูปแบบทางเข้าอากาศที่ดีที่สุดจากการทดลองที่ 1 พบว่า ถังหมักที่มีท่อทางออกอากาศอยู่ด้านบนและมีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าทางเข้าอากาศให้ประสิทธิภาพการหมักที่ดีที่สุดเนื่องจากทำให้อากาศไหลออกจากถังหมักได้ช้ากว่า ส่งผลให้จุลินทรีย์สัมผัสกับอากาศได้มากกว่า โดยทำให้วัสดุหมักถูกย่อยสลายได้ทั้งหมดในเวลาเร็วที่สุด 27 วัน และวัสดุหมักเมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่า CIN 21.09, pH 7.49, ธาตุอาหารหลัก 5.30% และ GI 97.01% และเมื่อนำรูปแบบทางเข้าและทางออกของอากาศที่ได้นี้ไปใช้กับถังหมักพลาสติกขนาด 120 ลิตร พบว่า วัสดุหมักถูกย่อยสลายได้ทั้งหมดเช่นกันในเวลา 90 วัน โดยวัสดุหมักเมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่า CIN 15.46, pH 5.21, ชาตุอาหารหลัก 3.59% และ GI 93.97% ดังนั้น ถังหมักที่มีท่อในแนวนอนด้านล่างเพื่อให้อากาศเข้าและกระจายตัวภายในถัง และมีท่อทางออกของอากาศในแนวตั้งอยู่ด้านบนถังหมักและมีพื้นที่หน้าตัดน้อยกว่าทางเข้าอากาศทำให้วัสดุหมักย่อยสลายได้ทั้งหมด เมื่อเติมวัสดุหมักทั้งแบบกะ และ แบบต่อเนื่อง และวัสดุหลังการ หมักมีค่า CN pH และ ธาตุอาหารหลัก ผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ย แต่ยังคงมีค่าความชื้นสูงกว่ามาตรฐาน ซึ่งควรนำมาผึ่งลมหรือผสมกับดินปลูกเพื่อลดความชื้นก่อนนำไปใช้งาน-
Appears in Collections:220 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
419386.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.