Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11551
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Teparksorn Pengpan | - |
dc.contributor.author | Beang Sengkhun | - |
dc.date.accessioned | 2018-02-13T08:32:59Z | - |
dc.date.available | 2018-02-13T08:32:59Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11551 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc. (Physics))--Prince of Songkla University, 2017 | th_TH |
dc.description.abstract | Advances in scientific knowledge of plasmonics offer key ideas for nanotechnology applications from biosensors to plasmonic solar cells. For biosensors there are attempts to improve their sensitivity, and for solar cells both their efficiency in energy conversion capability and harnessing by enhancing light-matter interaction, e.g., by designing antireflection surfaces and surface roughing for trapping or absorbing of light. One of the most common models is designed as a dielectric-metal coupler in similar to the Kretschmann's configuration design. In this study, we used COMSOL Multiphysics software implemented with finite element method (FEM) to study the relation of incident angle of light with respect to wavelength, investigate the physical relevant parameters and find the optimal parameters for occurrence of surface plasmon (SP) resonance. In the first part we studied the SiO2-Ag-air coupler to find the optimal thickness of the silver layer. For smooth surface of the Ag-slab, we found that its thickness of 40 nm yields the minimum reflection close to zero with the electromagnetic field of wavelength of 565 nm incident at the angle of surface plasmon resonance of 46°. For the rough surface of grating type, there are dips at other angles than at the angle of surface plasmon resonance. For the second part, we designed the structures of plasmonic solar cell to investigate the physical relevant parameters and the effect of particle shape, size and array pitch on the coupling of light for the plasmonic solar cell, which can be integrated within the solar cell in three configurations. For the first configuration, the spherical silver nanoparticles (Ag) are imbedded at the top as well as the Ag film at the bottom of the solar cell. For the second one, the Ag nano-spheres are embedded inside between the silicon (Si) and SiO2 film. For the last one, the Ag gratings are placed at the bottom face of the plasmonic solar cell. A TM wave with wavelength of 530 nm is incident on the top surface of the first configuration and it was found that the minimum dip in reflection corresponding to the highest absorption occurs at an angle of SP resonance of 36° for the spacing distance between the Ag nano-spheres of 160 nm. For the second and the third configurations where the Ag spheres embedded inside between the Si and SiO2 interface and the Ag grating at the back of the solar cell, the dips in reflection resonance angle of SP resonance occurs at an angle of 74" and 40" with incident wavelengths of 650 nm and 460 nm, respectively. It is found that for various spacing distances of either the Ag nano-sphere or the Ag grating of 150nm, 160nm, 170nm and 180nm there is no change in angle of SP resonance. | - |
dc.language.iso | en | th_TH |
dc.publisher | Prince of Songkla University | th_TH |
dc.subject | Surface plasmon resonance | th_TH |
dc.title | Light Scattering and Surface Plasmon Resonance on Prism-Metal-Dielectric Coupler | th_TH |
dc.title.alternative | การกระเจิงของแสง และการกำทอนของพลาสมอนผิวบนคู่ควบปริซึม-โลหะ-ไดอิเล็คทริค | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Science (Physics) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ | - |
dc.description.abstract-th | ความก้าวหน้าความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพลาสโมนิก (Plasmonic) ได้เสนอความคิด ที่เป็นกุญแจสําคัญสําหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระดับนาโนตั้งแต่ไบโอเซนเซอร์ จนถึงพลาสโมนิกโซลา เซลล์ สําหรับไบโอเซนเซอร์ พลาสโมนิกช่วยให้การตรวจจับของตัววัดมีความไวสูง ส่วนของพลาสโมนิก โซลา เซลล์ช่วยให้แผ่นโซลาเซลล์แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้ามีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โดยควบคุม การเพิ่มปฏิสัมพันธ์ของแสงในแผ่นโซลาเซลล์ พื้นผิวรับและสะท้อนแสงถูกออกแบบให้มีลักษณะพื้นผิวหยาบ เพื่อช่วยดักจับหรือการดูดซับแสง พื้นผิวโซลาเซลล์ได้รับการออกแบบให้เป็นตัวเชื่อมแบบไดอิเล็กทริก โลหะ คู่ควบ ซึ่งคล้ายคลึงกับรูปแบบของกรีซชมัน (Kretschmann) ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ทําวิทยานิพนธ์ใช้ ซอฟต์แวร์สําเร็จรูป (COMSOL Multiphysics) ที่ดําเนินการ โดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ (FEM) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของมุมตกกระทบและความยาวคลื่นของแสงต่อการสะท้อนกลับ การดูดกลืนและการ ทะลุผ่าน โดยการตรวจสอบและปรับพารามิเตอร์ทางกายภาพ และหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมสําหรับการเกิดเร โซแนนซ์ (resonance) ของพื้นผิวพลาสมอน (SP) ในการศึกษาส่วนแรกผู้ทําวิทยานิพนธ์ได้ศึกษา SiO- Ag-air ตู้ควบ เพื่อหาค่าความหนาที่เหมาะสมของชั้นเงิน (Ag) สําหรับพื้นผิวเรียบของแผ่นเงิน (Ag-slab) พบว่า หนา 40 nm และสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในโหมด TM ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความยาวคลื่น 565 mm ทําให้เกิดการสะท้อนแสงต่ําสุดและเข้าใกล้ศูนย์ที่มุมของพื้นผิวพลาสมอนเรโซแนนซ์ (PSR) 46 ส่วนพื้นผิว หยาบชนิดเกรตติง สัมประสิทธิ์การสะท้อนแสงมีการจุ่มลงที่มุมอื่น ๆ นอกจากที่มุมของ PSR ในส่วนที่สอง ผู้ทําวิทยานิพนธ์ได้ทําการออกแบบโครงสร้างของพลาสโมนิกโซลาเซลล์ และตรวจสอบพารามิเตอร์ต่าง ๆ ได้แก่ รูปทรงของอนุภาค ขนาด ความหนาและระยะห่างของขอบ ในการศึกษาการควบคู่แสงสําหรับพลาส โมนิ กโซลาเซลล์ ผู้ท้าวิทยานิพนธ์ ออกแบบโครงสร้างเป็นสามรูปแบบ รูปแบบแรก อนุภาค Ag ทรงกลมขนาดนา ในถูกฝังอยู่ที่ผิวด้านบน และส่วนด้านล่างของโครงสร้างโซลาเซลล์มี Ag ผิวราบ รูปแบบที่สอง อนุภาค Ag ทรงกลมถูกฝังอยู่ภายในระหว่างชั้นฟิล์มซิลิกอน (Si) และซิลิกอนไดออกไซด์ (SiO2) และรูปแบบสุดท้ายมี ลักษณะผิวเป็นแกรตติ้ง Ag อยู่ที่ชั้นล่างสุดของโครงสร้างโซลาเซลล์ ผลการจําลองเป็นดังนี้ ในรูปแบบแรก คลื่น TM ที่มีความยาวคลื่น 530 mm ตกกระทบบนพื้นผิวด้านบนมีการจุ่มลงต่ําสุดในการสะท้อนกลับหมด ของแสงสอดคล้องกับการดูดกลืนสูงสุดที่มุมการสะท้อนของ SP 36 ที่ระยะห่างระหว่าง Ag 160 mm ใน รูปแบบที่สองและรูปแบบที่สาม การจุ่มลงในมุมสะท้อนของ SP เกิดขึ้นที่มุม 74 และ 40 โดยคลื่นที่มีความ ยาว 650 nm และ 460 mm ตามลําดับ และยังพบอีกว่า ที่ระยะห่างระหว่างทรงกลมและระหว่างแกรดถึงนา ในขนาด 150 mm, 160 nm, 170 nm และ 180 nm ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมุมของการสะท้อนของ SP | - |
Appears in Collections: | 332 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
418253.pdf | 4.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.