Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11454
Title: | Skill Upgrading for Informal Hair and Beauty Services Workers in Hat Yai, Thailand |
Other Titles: | การยกระดับทักษะของแรงงานในงานบริการด้านเส้นผมและความงามในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
Authors: | Kanda Janyam Mayowa Abiodun Peter-Cookey |
Keywords: | Beauty operators Thailand Songkhla (Hat Yai);Beauty shops Thailand Songkhla (Hat Yai) |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Prince of Songkla University |
Abstract: | Skills upgrading for informal workers is key to the development of the informal economy in any nation and so bridging the skill gaps will essentially improve the gains of other interventions and total wellbeing of the workers. Improving the economic and productive capacity of informal economy workers (IEWS) in developing countries has been a major priority globally. Studies have revealed that informal workers (IWs) are generally plagued with low skills, low income and low productivity, which could tie to the fact that they do not have the requisite means to improve their performance quality through skills training. This in- depth multilevel research study of skill upgrading impact on the skill performance levels of informal economy workers (IEWS) was carried out on the informal hair and beauty services workers (IHBSWs) in Hat Yai, Songkhla, Thailand to explore the perceptions of workers, customers, business-owners and training-providers. The research employed the mixed methods research design with multilevel surveys and interviews, observations, secondary data as well as mixed purposeful sampling. The research sought to decipher the perceptions of all sample groups on the impact of skills upgrading on skill performance, the current skill acquisition process and workers' skill levels, skill upgrading needs and their consequences, and workers' skill performance levels as well as the challenges they face accessing skills upgrading and some key recommendations. The study found out that trainings provided and skill- levels of workers were basic, while only a small proportion of workers learnt their skills from vocational colleges, but more from social-media like Facebook and YouTube. In addition, only one skill set out of six (Haircare), didn't show any overall gap while 52 skills out of total of 85 had high gaps. The findings also revealed that people (71%) generally perceive that skill upgrading greatly impacts skill performance and skills performance levels to be at novice levels for most skills and all other skill sets except General Skills, which relates to the general concept that informal workers are basically low-skilled with low-productivity. Conclusively, IEWS need skill upgrading to improve their performance and so thus skill upgrading should be an integral part of skill development strategies. We recommend that skill development policies and programs need to be more attentive to the training needs of the IEWS. This knowledge will help policy-makers, trainers and program managers of skill development for informal workers to identify which skill areas to focus on for training and how to improve training design as well as contribute to research on skill quality/demands for this occupational domain. |
Abstract(Thai): | การยกระดับทักษะของแรงงานนอกระบบเป็นกุญแจสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ นอกระบบในทุกประเทศ การลดช่องว่างทางทักษะส่งเสริมให้แรงงานได้รับสวัสดิการการดูแลและ คุณภาพชีวิตโดยรวมที่ดีขึ้น การพัฒนาความสามารถทางเศรษฐกิจและผลิตภาพของแรงงานใน เศรษฐกิจนอกระบบ (Informal Economy Workers) ในประเทศกําลังพัฒนากลายมาเป็นปัจจัย สําคัญอันดับต้นทั่วโลก ผลการศึกษาหลายฉบับเปิดเผยว่าแรงงานนอกระบบ (Informal Workers) โดยทั่วไปจะประสบปัญหาเรื้อรังจากการมีทักษะระดับต่ํา รายได้ต่ํา และผลิตภาพต่ํา ซึ่งอาจเชื่อมโยง กับข้อเท็จจริงที่ว่าพวกเขาไม่มีช่องทางปัจจัยเข้าถึงการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานผ่านการ ฝึกอบรมทักษะ การศึกษาวิจัยพหุระดับเชิงลึกเรื่องการยกระดับทักษะซึ่งส่งผลต่อระดับประสิทธิภาพ ทักษะการทํางานของแรงงานนอกระบบฉบับนี้ทําการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มแรงงานในบริการด้านเส้น ผมและความงามในอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย เพื่อสํารวจค้นคว้าความตระหนักของ แรงงาน ลูกค้า ผู้ประกอบการ และผู้จัดฝึกอบรม งานวิจัยฉบับนี้ใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสม โดยใช้ แบบสํารวจและการสัมภาษณ์บุคคลในหลายระดับ การสังเกตการณ์ ข้อมูลทุติยภูมิ รวมไปถึงการใช้ การสุ่มตัวอย่างแบบผสมผสานอย่างมีวัตถุประสงค์ งานวิจัยฉบับนี้มุ่งเน้นที่จะทําความเข้าใจถึงความ ตระหนักของกลุ่มตัวอย่างทุกกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากการยกระดับทักษะและประสิทธิภาพการ ทํางาน กระบวนการพัฒนาทักษะในปัจจุบันและระดับทักษะของแรงงาน ความจําเป็นในการยกระดับ ทักษะและผลที่เกิดขึ้นตามมา ระดับประสิทธิภาพในการใช้ทักษะ รวมถึงอุปสรรคที่แรงงานประสบ เมื่อเข้ารับการยกระดับทักษะและข้อแนะนําที่สําคัญบางประการ จากการวิจัยครั้งนี้พบว่ามีการจัด ฝึกอบรมทักษะและทักษะของพนักงานอยู่ในระดับพื้นฐาน พนักงานจํานวนน้อยที่ได้เรียนรู้ฝึกฝน ทักษะจากวิทยาลัยวิชาชีพ ขณะที่ส่วนมากเรียนรู้ฝึกฝนทักษะผ่านสื่อสังคมออนไลน์ อาทิ Facebook และ YouTube นอกจากนี้ยังพบว่ามีเพียง 1 กลุ่มทักษะจาก 6 กลุ่มทักษะ (การดูแลเส้นผม) ที่ไม่ ปรากฏ ทักษะส่วนมากและกลุ่มทักษะอื่นๆ ทั้งหมดที่อยู่ในระดับผู้เริ่มต้น ยกเว้นทักษะพื้นฐาน (General Skills) ซึ่งเกี่ยวข้องกับแนวคิดเบื้องต้นที่ว่าแรงงานนอกระบบมีทักษะน้อยและผลิตภาพอยู่ ในระดับต่ํา โดยสรุป ช่องว่างทางทักษะในภาพรวม ขณะที่ทักษะถึง 52 ทักษะจากทั้งหมด 85 ทักษะ กลับมีช่องว่างทางทักษะสูง การค้นพบนี้ยังแสดงให้เห็นว่าโดยทั่วไปผู้คน (71%) ตระหนักว่าการ ยกระดับทักษะส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่อการประสิทธิภาพการทํางานและระดับทักษะสําหรับ แรงงาน นอกระบบจําเป็นต้องได้รับการยกระดับทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ด้วยเหตุนี้ การ ยกระดับทักษะควรเป็นส่วนหนึ่งที่ผสานในกลวิธีการฝึกทักษะ เราเสนอแนะว่านโยบายและหลักสูตร การพัฒนาทักษะเหล่านี้จําเป็นต้องมุ่งให้ตรงกับความต้องการในการฝึกฝนของแรงงานในบริการด้านนี้ ความรู้ในงานวิจัยฉบับนี้จะช่วยให้ผู้จัดทํานโยบาย ผู้ฝึกอบรม และผู้จัดการหลักสูตรการฝึกอบรมการ พัฒนาทักษะให้กับแรงงานนอกระบบสามารถระบุทักษะที่จะให้ความสําคัญในการฝึกอบรมและแนว ทางการปรับปรุงการออกแบบการฝึกอบรม รวมไปถึงการส่งเสริมการศึกษาคุณภาพ/ความต้องการ ทางทักษะสําหรับผู้ประกอบอาชีพในสายงานดังกล่าว |
Description: | Thesis (M.A. (Human and Scoial Development)) Prince of Songkla University, 2017 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11454 |
Appears in Collections: | 895 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
417043.pdf | 4.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.