Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11438
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชญา พรรคทองสุข | - |
dc.contributor.author | อรนุช อิสระ | - |
dc.date.accessioned | 2018-02-13T02:11:40Z | - |
dc.date.available | 2018-02-13T02:11:40Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11438 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (อาชีวเวชศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | This cross-sectional with repeated measures among 62 cleaners was objected to describe the exposure from chemicals at work, prevalence of respiratory disorders and diseases, abnormal pulmonary function including the effect of chemical exposure on pulmonary function. Data were collected using interviewed questionnaire, personal samplings for ammonia, hydrochloric acid and chlorine. The pulmonary function were repeatedly measured at baseline, 3 months and 1 year. The study found ammonia at a time weighted average (TWA) was in the range of 0.00007-0.015 ppm at job title of wet scrubbing and 0.0003-0.5 ppm at job title of floor scrubbing. Hazard quotient (HQ) of both jobs were <1, considering safe exposure; Hydrochloric acid (TWA) was in the range of 0.0001-2.92 ppm at job title of floor mopping. The maximum of hydrochloric acid level among cleaners, who mopped the floor in the personnel office, was 2.92 ppm with HQ of 1.46 or unsafe for exposure. Hydrochloric acid exposure showed lower limit of detection at job title of floor waxing; Chlorine (TWA) was in the range 0.17-0.46 ppm at job title of dry scrubbing and 0.144-0.265 ppm at job title of mirror cleaning. HQ values of both jobs were <l which were safe for exposure. Regarding respiratory disorders, the cleaners had nasal congestion 25.8%, nasal irritation 25.8%, eye irritation 21.0 %, allergic rhinitis 29.0%, mucous membrane irritation 4.8% and asthma 4.8%. The pulmonary function tests showed restrictive lung of 8.1% at baseline, 11.3% at 3 months and 16.1% at 1 year respectively. The mean difference of FEV, and FEV,/FVC% over three measures also showed statistically different but not FVC. The TWA of chlorine in mirror cleaning job, cumulative dose of chlorine and job title of mirror cleaning showed statistically significant with FVC. It is most likely explained by that this job increased chlorine exposure because the employees had to stand spraying the cleaning agent under moderate to vigorous intensity at work. | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | th_TH |
dc.subject | พนักงานทำความสะอาด ผลกระทบจากสารเคมี | th_TH |
dc.subject | ปอด ผลกระทบจากสารเคมี | - |
dc.title | ผลกระทบของสารเคมีที่ใช้ทำความสะอาดต่อความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและสมรรถภาพการทำงานของปอดในกลุ่มพนักงงานที่ทำงานในกิจการรับจ้างทำความสะอาด | th_TH |
dc.title.alternative | The effect of cleaning chemicals on respiratory disorders and abnormal lung function among employees in cleaning business | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Medicine (Biomedical Sciences) | - |
dc.contributor.department | คณะแพทยศาสตร์ ภาควิชาชีวเวชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบตัดขวางที่มีการวัดซ้ำ (Cross sectional with repeated measures study) ในกลุ่มพนักงานรับจ้างทำความสะอาด 62 คน เพื่อพรรณนาลักษณะการรับสัมผัสสารเคมีของพนักงานทำความสะอาด ความชุกของโรคและอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจความผิดปกติของสมรรถภาพการทำงานของปอด และความสัมพันธ์ระหว่างการรับสัมผัสสารเคมีกับผลการตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ เก็บตัวอย่างอากาศแบบ personal samplings ของแอ่มโมเนีย กรดไฮโดรคลอริคและคลอรีน และตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอดของกลุ่มตัวอย่างที่ 0,3 เดือน และ 1 ปี ผลการศึกษาพบว่า พนักงานมีค่า TWA ของแอมโมเนียมีค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดอยู่ ในช่วง 0.00007-0.015 ppm ในงานถูเปียก และ 0.0003-0.5 ppm ในงานขัดพื้นตามลำดับ ค่า HQ ของ ทั้งสองงานจำแนกตามอาคาร ไม่มีค่าใดเกินกว่า 1 ซึ่งแสดงว่าปลอดภัย: ค่า TWA ของกรดไฮโดรคลอริคอยู่ในช่วงค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดเท่ากับ 0.0001-2.92 ppm ในงานถูพื้น โดยพนักงานในหอ บุคลากรมีการรับสัมผัสกรดไฮโดรคลอริกในงานถูพื้นสูงสุด 2.92 ppm และค่า H0 1.46 แสดงว่าไม่ปลอดภัย ส่วนค่า TWA ของกรดไฮโดรคลอริคในงานแว๊กซ์พื้นต่ำกว่าค่า LLD (Lower Limit of Detection); การรับสัมผัสก๊าซคลอรีนมีค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดอยู่ในช่วง 0.17-0.46 ppm ในงานดูแห้งและ 0.144-0.265 ppm ในงานเช็ดกระจก ค่า HO ของทั้งสองงานจำแนกตามอาคาร ไม่มีค่าใดเกินกว่า 1 ซึ่งแสดงว่าปลอดภัย ส่วนความชุกอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจพบ อาการคัดจมูก จาม น้ำมูกไหล ร้อยละ 25.8 อาการค้นระคายเคืองจมูกร้อยละ 25.8 อาการคันระกายเคืองตาร้อยละ 21.0 จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ร้อยละ 29.0 ระกายเคืองเชื่อบุต่างๆ (MMI) ร้อยละ 4.5 และหอบหีดร้อยละ 4.8 และผลการ ตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอดพบ ความผิดปกติแบบ Restiction ในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และ ครั้งที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 8.1, 11.3 และ 16.1 ตามลำดับ และพบว่าค่ามีความแตกต่างระหว่างการวัดซ้ำสามครั้ง ผลวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการรับสัมผัสสารเคมีกับสมรรถภาพการทำงาน ของปอด พบว่าค่ารับสัมผัสสะสมหรือ AD และค่า TWA ของคลอรีนในงานเช็ดกระจกมี ความสัมพันธ์กับค่า FVC อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งน่าจะเกิดจากลักษณะงานเช็ดกระจกที่ต้องยืนทำงานอยู่กับที่ในพื้นที่อับ ไม่มีลมพัดผ่าน และเป็นงานใช้แรงมากจนเพิ่มอัตราการหายใจแต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างแอมโมเนียและกรดไฮโดรคลอริคกับผลดรวจสมรรถภาพปอด | - |
Appears in Collections: | 373 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
418312.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.