กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11385
ชื่อเรื่อง: Muslim nurses' lived experience in involvement at the End of Life decision making in intensive Care Unit
ชื่อเรื่องอื่นๆ: ประสบการณ์ของพยาบาลมุสลิมในการมีส่วนร่วมกับการตัดสินใจในระยะท้ายของชีวิตในหออภิบาลผู้ป่วย
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Waraporn Kongsuwan
Arif Imam Hidayat
Faculty of Nursing (Medical Nursing)
คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
คำสำคัญ: Terminal care;Critically ill;Nurse and patient
วันที่เผยแพร่: 2017
สำนักพิมพ์: Prince of Songkla University
บทคัดย่อ: This study aimed to describe the meaning of Muslim nurses' lived experience in involvement at the End of Life (EOL) decision making in Intensive Care Unit (ICU). Hermeneutic phenomenological study was used. Fourteen nurses who work in an ICU in Indonesia met the inclusion criteria: being Muslim nurse and have been working in ICU for at least three years. Data were collected using in-depth individual interview. Interview transcriptions were analyzed by using van Manen's approach. Trustworthiness was established following Lincoln and Guba's criteria. This study found eleven thematic categories and were reflected within four lifeworlds of body, time, relation, and space. Lived body consisted of three thematic categories; *feeling of dilemma', 'feeling spiritual distress', and 'feeling powerless'. Lived time included of themes 'being in uncertain time' and 'continuous time of caring'. Lived relation were revealed in four thematic categories; 'receiving overwhelming role', 'valuing competency in communication with the family', *understanding the family's feeling', and 'being a supporter for the family'. Lived space included 'respecting privacy' and 'evading the process'. The findings of this study provide understanding the lived experience of Muslim nurses in involvement at the end of life decision making in an ICU. These findings can be used to suggest nursing administrators of the hospital to support policies toward education and training regarding EOL decision making in ICU.
Abstract(Thai): การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความหมายของประสบการณ์ของพยาบาลมุสลิมในการ มีส่วนร่วมกับการตัดสินใจในระยะท้ายของชีวิตในหออภิบาลผู้ป่วย (ไอซียู) โดยใช้การศึกษา ปรากฏการณ์วิทยาแบบเฮอร์เมนนิวติกส์ ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลของหอผู้ป่วยไอซียู จํานวน 14 ราย และเป็นไปตามเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล คือ เป็นพยาบาลมุสลิมที่ทํางานในหอผู้ป่วยไอซียู อย่างน้อย 3 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลของบท สัมภาษณ์โดยใช้วิธีการของแวนมาเนน และสร้างความน่าเชื่อถือของงานวิจัยตามแนวทางของ ลินคอล์นและกูบา ผลการศึกษาพบกลุ่มความหมายจํานวน 11 กลุ่มความหมาย และได้สะท้อนภายใต้โลกสี่ใบ ประกอบไปด้วย โลกของร่างกาย โลกของเวลา โลกของความสัมพันธ์ และโลกของสถานที่ กลุ่ม ความหมายในโลกของร่างกาย ได้แก่ “รู้สึกกลืนไม่เข้าคายไม่ออก” “รู้สึกคับข้องทางด้านจิต วิญญาณ” และ “รู้สึกไร้พลัง” กลุ่มความหมายในโลกของเวลา ได้แก่ “อยู่ในเวลาที่ไม่แน่นอน” และ “การต่อเนื่องเวลาของการดูแล” กลุ่มความหมายในโลกของความสัมพันธ์ ได้แก่ “ได้รับบทบาทที่เกิน ตัว” “ให้คุณค่าความสามารถในการสื่อสารกับครอบครัว” “เข้าใจความรู้สึกของครอบครัว” และ “เป็นผู้สนับสนุนแก่ครอบครัว” กลุ่มความหมายในโลกของสถานที่ ได้แก่ “เคารพความเป็นส่วนตัว” และ “หลีกเลี่ยงกระบวนการ” ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ความเข้าใจประสบการณ์ของพยาบาลมุสลิมในการมีส่วนร่วมกับการ ตัดสินใจในระยะท้ายของชีวิตในหอผู้ป่วยไอซียู และสามารถนําไปเป็นข้อเสนอแนะผู้บริหารทางการ พยาบาลของโรงพยาบาลในการสนับสนุนนโยบายทางด้านการศึกษาและอบรมเกี่ยวกับการตัดสินใจ ในระยะท้ายของชีวิตในหอผู้ป่วยไอซียู
รายละเอียด: Thesis (M.N.S., Nursing Science (International Program))--Prince of Songkla University, 2017
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11385
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:646 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
419335.pdf495.02 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น