Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/10633
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คณิตา, นิจจรัลกุล | - |
dc.contributor.author | นิอิบณูรอวี, บือราเฮง | - |
dc.date.accessioned | 2017-01-27T08:50:45Z | - |
dc.date.available | 2017-01-27T08:50:45Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/10633 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ศาสนประวัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเรียนแบบปกติ กับ หลังการเรียนโดยใช้การสอนแบบบูรณาการด้วยการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านสื่อประสม และนวัตกรรมคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคม (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับคุณลักษณ์ด้านทักษะทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อน-หลัง การสอนแบบบูรณาการด้วยการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน สื่อประสม และนวัตกรรมคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคมในด้านความเสียสละ ความเมตตากรุณา และความมีมนุษยสัมพันธ์ และ (3) เพื่อศึกษาความคงทนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ศาสนประวัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่น ามาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน อัลกุรอานและภาษากาลามุลลอฮฺ จังหวัดปัตตานี กลุ่มทดลองจ านวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน สื่อประสม และนวัตกรรมคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคม แบบวัดคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคม และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ศาสนประวัติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มกลุ่มควบคุมทดสอบก่อนหลังวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคาเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบบูรณาการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ใช้วิธีการสอนแบบปกติหลังการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .001 นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบบูรณาการมีระดับคุณลักษณ์ด้านทักษะทางสังคมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบบูรณาการโดยใช้การสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน สื่อประสม และนวัตกรรมคุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคมใน 3 ด้านมีความคงทนในการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน The research objectives were (1) to compare the academic achievement of religious history subject learning of grade seven students after learning traditional instruction and after learning integrated by using flipped classroom, multimedia, and innovation character education of social skills, (2) to compare level of character in social skills of grade seven students before and after learning by using an innovation in character education of social skills in sacrifice, mercy and human relationship, and (3) to study the retention of academic achievement of religious history subject of grade seven students. The sample groups which were chosen by cluster random sampling, 30 students of experimental group and 30 students of control group of grade seven students in Kalamullah al-Qur’an and Multilingual school, Pattani Province. The research instruments were consisted of lesson plans which integrated in the innovation in character education in social skills, assessment on level of character education in social skills and assessment form of academic achievement in religious history subject. This research was randomized control group, pretest-posttest design. The data analysis was consisted of arithmetic mean, standard deviation and t-test. The study found that students who were taught by innovation in character education of learning in social skills were higher in academic achievement than the students who were taught by traditional instruction statistically significant of .001 levels. Students who have been using flipped classroom, multimedia and innovation in character education of social skills which included sacrifice, mercy and human relationship were statistically significant of .001 levels. Students who were taught by using flipped classroom, multimedia, and innovation in character education in social skills in three types. The study showed no statistically significant different in retention of learning. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | th_TH |
dc.subject | การจัดการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤิทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.title | ผลของการสอนแบบบูรณาการด้วยการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน สื่อประสม และนวัตกรรม คุณลักษณ์ศึกษาด้านทักษะทางสังคมที่มีต่อพฤติกรรมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระการเรียนรู้ศาสนประวัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of Integrated Teaching by Using Flipped Classroom, Multimedia, and Innovation in Character Education in Social Skills on Behavior and Academic Achievement in Religious History Subject of Grade Seven Students. | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Educational Technology) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา | - |
Appears in Collections: | 263 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TC1227.pdf | 4.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.