Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8392
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมปอง เตชะโต | - |
dc.contributor.author | สุรีรัตน์ เย็นช้อน | - |
dc.contributor.author | ยุพาภรณ์ ศิริโสม | - |
dc.contributor.author | สุนทรียา กาละวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-09-05T03:17:38Z | - |
dc.date.available | 2012-09-05T03:17:38Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8392 | - |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.subject | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช | en_US |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ | en_US |
dc.title.alternative | Development of gene transformation with somatic embryos of oil palm derived from tissue cukture | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Plant Science) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษาถึงผลของปัจจัยทางกายภาพ และชีวภาพต่อการถ่ายยืนโดยใช้อะโกรแบคทีเรียม และเครื่องยิงอนุภาค พบว่า ความเข้มขันของชีโฟทาซึมที่สามารถยับยั้งการเจริญเดิบโตของเชื้ออะโกรแบคทีเรียม และส่งเสริมการเจริญ และพัฒนาการของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสได้คือ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นของสารปฏิชีวนะไฮโกรมัยชินที่เหมาะสมในการคัดเลือกเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสที่ได้รับการถ่ายยีนคือที่ระดับความเข้มข้น 30 มิลลิกรัมต่อลิตร สายเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูงในการถ่ายยีนคือ สายเชื้อ AGL-1 ที่มีพลาสมิด pCAMBIA 1304 ซึ่งมียีน gus เป็นยีนรายงานผลยีน hptII เป็นยีนคัดเลือก และการใช้เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสอายุ 4 สัปดาห์จุ่มแช่สารละลายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมที่ปรับความหนาแน่นเชื้อที่ค่า OD600 เป็น 0.8 อินคูเบทนาน 6 ชั่วโมง ให้การแสดงออกของยีน gus สูงสุค ในกรณีการถ่ายยีนด้วยเครื่องยิงยีน พบว่า การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันอายุ 4 สัปดาห์บนอาหารออสโมติคัมเป็นเวลา 16 ชั่วโมงก่อนการยิงยีน โดยกำหนดแรงดันสุญญากาศ -0.1 เมกะปาศคาล แรงดันก๊าซฮีเลียม 5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และปรับระยะห่างระหว่างหัวกระสุนและเป้าหมาย 10 เซนติมตร ให้การแสดงออกของยีน gus และแคลลัสที่ต้านทานต่อไฮโกรมัยชินสูงสุด เมื่อนำมาตรวจสอบการสดงออกของยีน gus และ hptII โดยเทคนิค PCR (Polymerase chain reaction) พบว่ามีการปรากฏของยีน gus ขนาค 441 คู่เบส และ hptII ขนาด 800 คู่เบส | - |
Appears in Collections: | 510 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
345672.pdf | 311.01 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License