Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุกฤทธิรา รัตนวิไล-
dc.date.accessioned2011-06-21T07:26:38Z-
dc.date.available2011-06-21T07:26:38Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7342-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/227905-
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectสารประกอบอินทรีย์ระเหย ออกซิเดชั่นen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeoliteen_US
dc.title.alternativeA comparative study of the catalytic oxidation of VOCs by 12 - tungstophosphoric acid (HPW) supported on SiO2, Al2O3 and zeoliteen_US
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite-
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite-
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Chemical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.description.abstract-thปัจจุบันอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีการปล่อยสารพิษออกสู่บรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ มีการปล่อยสารพิษที่ประกอบด้วยสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม จึงมีความจำเป็นที่ต้องควบคุมการปล่อยสาร VOCs สู่บรรยากาศให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการลดปริมาณสาร VOCs ด้วยวิธี Catalytic oxidation โดยแคตาลิสต์ทีใช้คือ 12-Tungstophosphoric acid (HPW) ที่มีตัว supporter 3 ชนิดที่แตกต่างกันคือ SiO2, Al2O3และ Zeolite โดยเตรียมที่ 0, 4%, 8%,12% HPW โดยน้ำหนัก สาร VOCs ที่ใช้ในการศึกษาคือ โทลูอีน โดยควบคุมความเข้มข้นของโทลูอีนในอากาศให้อยู่ในช่วง 300-1000 ppm. ที่อุณหภูมิดำเนินการ 200, 300 และ 400°C จากการศึกษาคัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ XRD, SEM และ FT-IR เพื่อยืนยันชนิดของสาร ดูการกระจายตัวของ HPW/SiO2, HPW/A12O3 และ HPW/Zeolite และหมู่ฟังก์ชันของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าการเพิ่มขึ้นของเปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของ HPW บน Supporter คือ SiO2 Al2O3 และ Zeolite สามารถยืนยันได้จากลักษณะทางกายภาพ โดยพบว่าเมื่อเปอร์เซ็นต์ การโหลด (% Loading) HPW บน Supporter ทุกชนิดสูงขึ้นจะพบปริมาณสาร HPW มากขึ้น ในการทดลองตัวเร่งปฏิกิริยา HPW/SiO2, HPW/Al2O3 และ HPW/Zeolite ในปฏิกิริยา Catalytic Oxidation พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาทั้ง 3 ชนิด เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของ reactor สูงขึ้นในช่วง 200 - 400 °C ความสามารถในการกำจัดโทลูอีนในอากาศของตัวเร่งปฏิกิริยากีสูงขึ้นตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นไปตามกฎของ Arrhennius โดยเรียงลำดับการกำจัดโทลูอีนในอากาศโดยดูจาก %Conversion ของโทลูอีนได้ ดังนี้คือ 12%HPW/SiO2 ที่อุณหภูมิ 400°C สามารถกำจัดโทลูอีนในอากาศไต้สูงที่สุคมี คือ 89% ตามด้วย 8% HPW/AljO3 ให้ค่า %conversion เท่ากับ 85% สุดท้ายคือ 12% HPW/Zeolite ให้ค่า %conversion ประมาณ 72% ซึ่งหากดูจากความสัมพันธ์ของพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา และปริมาณของ HPW พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีพื้นที่ผิวสูงสุดและมีปริมาณของ HPW มากสุดให้ค่า%Conversion ของโทลูอีนสูงสุด ซึ่งพื้นที่ผิวและปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่สูงคาดว่ามีผลโดยตรงต่อการเกิด Oxidation Reaction โดยคำนึงถึงการปลดปล่อยออกซิเจนเพื่อใช้ในการทำ ปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสิ่งสำคัญที่สุด-
Appears in Collections:230 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
326419.pdf7.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons