Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกำพล ประทีปชัยกูร-
dc.contributor.authorธีรยุทธ หลีวิจิตร-
dc.contributor.authorไพโรจน์ คีรีรัตน์-
dc.date.accessioned2011-06-02T04:23:55Z-
dc.date.available2011-06-02T04:23:55Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7315-
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectพลังงานen_US
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.titleรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ "ครุวิจัย-พลังงาน"en_US
dc.title.alternative"ครุวิจัย-พลังงาน" : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Mechanical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล-
dc.description.abstract-thโครงการครุวิจัยพลังงานเป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของครูด้วยกระบวนการวิจัยจากประสบการณ์นอกห้องเรียน เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครู ที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของนักเรียนโดยการฝึกการทำวิจัยเป็นเวลา 1 เดือน สถานวิจัยเทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดการเรียนรู้เป็น 3 ส่วนให้แก่ครู 29 คน คือ การบรรยายเนื้อหาพื้นฐานด้าน วิทยาศาสตร์พลังงาน วิธีการทำวิจัย การเรียนรู้ด้วยการลงปฏิบัติ ซึ่งมี 7 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มประหยัดพลังงาน กลุ่มอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ กลุ่มเชื้อเพลิงแข็งและกาซชีวมวล กลุ่มไบโอดีเซล กลุ่มพลังงานน้ำ กลุ่ม พลังงานลม และกลุ่มก๊าซชีวภาพ และการเรียนรู้ด้วยการทัศนศึกษา ได้แก่ ทัศนศึกษาอารยะธรรมรอบ ทะเลสาบสงขลา การผลิตน้ำยางข้นโรงงานฉลองน้ำยางข้น วิถีชีวิตแบบพอเพียงด้วยการออมทรัพย์ ณ วิทยาลัยชาวบ้านคลองเบียะ การวิจัยการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรของชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก ผล การฝึกครูทำวิจัยครั้งนี้ ได้ทำให้ครูมีความรู้พื้นฐานด้านพลังงาน สามารถออกแบบการทดลองเพื่ออธิบาย ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ครูแต่ละคนลามารถเขียนผลงานวิจัย เป็นรายงานและบทความวิจัย ได้ผลงานวิจัย 24 เรื่อง ครูที่เข้าอบรมมีทัศนคติที่ดีต่อการทำวิจัยด้านพลังงาน และได้นำประสบการณ์ที่ได้ไปขยายผลต่อที่โรงเรียน เช่น การให้นักเรียนทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใน ชุมชน การทำไบโอดีเซลในโรงเรียน การผลิตก๊าซชีวภาพ เป็นต้น สรุปผลของโครงการนี้ ครูได้ความรู้และได้ ประสบการณ์จากนอกห้องเรียนที่สามารถนำไปพัฒนาการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ ทั้งนี้เสนอแนะให้ ติดตามและให้ทุนสนับสนุนแก่ครูกลุ่มนี้ต่อเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ทำวิจัยอย่างต่อเนื่องจนได้เป็นตัวอย่างแก่ครู คนอื่น จนสามารถสร้างผลงานวิจัยและสาระการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง-
Appears in Collections:215 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
314485.pdf96.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons