Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล-
dc.contributor.authorยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล-
dc.date.accessioned2023-06-22T03:24:08Z-
dc.date.available2023-06-22T03:24:08Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18184-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/254309-
dc.description.abstractThe main purposes of this project were to feasibility study of toxic gas treatment of rubber sheet product wastewater and concentrated rubber latex wastewater using plasma ozonation and to study change of uv relative intensity passing though toxic gaseous species before and after treatment by ozone. The results showed that plasma ozonation system had a high efficient NO2 removal whilst the SO2 reduction was slightly decomposed by ozonaton. Thus design and construction of plasma ozonizer using silent electrical discharges and the development of ozone determination by optical spectroscopy can be achieved. However, NO2 removal has been effective operated by thisjdasma chemistry technique but the SO2 and H2ร removal from toxic gas of rubber latex waste water need to be more concerned in the future work.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectก๊าซพิษen_US
dc.subjectน้ำเสีย การบำบัด การกำจัดก๊าซพิษen_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการกำจัดก๊าซพิษจากน้ำเสียน้ำยางข้นด้วยเทคนิคพลาสมาเคมีen_US
dc.title.alternativeStudy of toxic gas removal from concentrated rubber latex wastewater by chemical plasma techniqueen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการกำจัดก๊าซพิษจากน้ำเสียน้ำยางข้นด้วยเทคนิคพลาสมาเคมีen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Physics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Chemical Engineering-
dc.description.abstract-thโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างและทดสอบเครื่องพลาสมาโอโซไนเซชันสำหรับการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตยางธรรมชาติได้แก่ น้ำทิ้งจากสหกรณ์ทำยางแผ่นและน้ำเสียจากการผลิตน้ำยางข้น และเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเข้มรังสีอัลตราไวโอเลตของก๊าซที่ผ่านกระบวนการบำบัดภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ เปรียบเทียบกับก๊าซที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการบำบัดด้วยกระบวนการโอโซเนชัน ผลการทดลอง พบว่า ระบบพลาสมาโอโซเนชัน สามารถลดปริมาณก๊าซ NO2 ขณะที่ปริมาณก๊าซ SO2 ที่เกิดจากน้ำเสียจากกระบวนการผลิตน้ำยางข้น ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ผลการทดลองทั้งหมดสรุปได้ว่า งานวิจัยนี้สามารถสร้างและทดสอบเครื่องผลิตก๊าซโอโซนด้วยเทคนิคพลาสมาดิสชาร์จไฟฟ้าแบบไซเลนท์ได้ และสามารถพัฒนาระบบตรวจสอบก๊าซโอโซนเชิงทัศน์ได้เอง อย่างไรก็ดีในการลดปริมาณก๊าซพิษของ NO2 สามารถทำ ได้ด้วยเทคนิคพลาสมาเคมีนี้ ขณะที่การลดลงปริมาณของกลุ่มก๊าซ SO2 และ H2S จำเป็นต้องมีการศึกษาต่อไป-
Appears in Collections:230 Research
332 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.