Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิพร ภัทรชยากุล-
dc.contributor.authorธัตรชัย ธารณ์ชัยเตชาวุฒิ-
dc.date.accessioned2023-05-16T04:11:42Z-
dc.date.available2023-05-16T04:11:42Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18164-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThis study aimed to assess the knowledge about prediabetes, overweight and obesity among individuals that underwent proactive health screening and were diagnosed with prediabetes. This study was conducted through the use of close-ended question to collect the data from 2 sample groups, namely; sample group of 53 individuals that underwent proactive health screening and were diagnosed with prediabetes and sample group of 53 individuals who were not diagnosed with prediabetes, during an interval of 1 – 31 July 2020. Hence, the data was analyzed by using descriptive statistics and inferential statistics (Independent-Sample T Test) This study showed that 43.4% of individuals with prediabetes and 30.19% of individual without prediabetes were diagnosed with obesity, respectively. For the knowledge about prediabetes among individuals with prediabetes and individuals without prediabetes, the results showed that the mean scores were at 6.28±2.37 and 6.30±2.60 of the total score of 13, respectively. For the knowledge about overweight and obesity among individuals with prediabetes and individuals without prediabetes, the study found that the mean scores were at 2.77±1.28 and 2.39±1.36 of the total score of 10, respectively. The comparison between the mean scores of knowledge about prediabetes, overweight and obesity among individuals with prediabetes and individuals without prediabetes revealed no difference. The result of this study showed that answers from both sample groups are mostly inaccurate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectภาวะก่อนเบาหวานen_US
dc.subjectภาวะน้ำหนักเกินen_US
dc.subjectโรคอ้วนen_US
dc.titleความรู้เกี่ยวกับภาวะก่อนเบาหวาน ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในผู้มีภาวะก่อนเบาหวานที่เข้ารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี ที่คลินิกสุขภาพเชิงรุก โรงพยาบาลสุไหงโก-ลกen_US
dc.title.alternativeKnowledge about Prediabetes, Overweight and Obesity among Individuals that Underwent Proactive Health Screening and were diagnosed with Prediabetes at Health Promotion clinic, Sungaikolok hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Pharmaceutical Sciences (Clinical Pharmacy)-
dc.contributor.departmentคณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก-
dc.description.abstract-thภาวะก่อนเบาหวานเป็นภาวะที่คนมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ แต่ไม่ถึงเกณฑ์ที่จะวินิจฉัยได้ว่าเป็นโรคเบาหวาน โดยภาวะก่อนเบาหวานไม่ได้เป็นโรค แต่เป็นภาวะที่เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความรู้เกี่ยวกับภาวะก่อนเบาหวาน ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด จากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานจำนวน 53 คน และกลุ่มตัวอย่างผู้ที่ไม่มีภาวะก่อนเบาหวานจำนวน 53 คน ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด และค่าต่ำสุด และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) โดยใช้การทดสอบ T (Independent-Sample T Test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานส่วนใหญ่มีโรคอ้วนร้อยละ 43.4 และกลุ่มตัวอย่างผู้ที่ไม่มีภาวะก่อนเบาหวานมีโรคอ้วนร้อยละ 30.19 ความรู้เกี่ยวกับภาวะก่อนเบาหวานของกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานและผู้ที่ไม่มีภาวะก่อนเบาหวาน พบว่ามีค่าเฉลี่ยคะแนนเท่ากับ 6.28±2.37 คะแนน และ 6.30±2.60 คะแนน จากคะแนนเต็ม 13 คะแนน ตามลำดับ และความรู้เรื่องภาวะก่อนเบาหวาน และภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวานและผู้ที่ไม่มีภาวะก่อนเบาหวาน พบว่ามีค่าเฉลี่ยคะแนนเท่ากับ 2.77±1.28 คะแนนและ 2.39±1.36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ตามลำดับ สรุปผลการวิจัยนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มยังตอบคำถามได้ถูกต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มพบว่าไม่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:560 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6010720014.pdfวิทยานิพนธ์ (เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมคลินิก))-- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 25641.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons