Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomchai Saeung-
dc.contributor.advisorJuntakan Taweekun-
dc.contributor.authorPariyes Sawasklin-
dc.date.accessioned2023-04-12T04:30:43Z-
dc.date.available2023-04-12T04:30:43Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17957-
dc.descriptionMaster of Engineering (Energy Technology), 2021en_US
dc.description.abstractWind energy could be an alternative new energy source with free and sustainable power energy. There is high potential of offshore wind speed and power density that are suitable to install a turbine farm for a wind generator. In this study, wind potential data along the east side offshore of Thailand or the Gulf of Thailand were measured in every 10 minutes for 4 years (2017-2020) from 10 meteorological masts at 10 m. high above ground level. The Multi Criteria Decision Analysis (MCDA) was used to find optimal and suitable offshore wind farm stations. The wind data by Wind Atlas Analysis and Program (WAsP) program were analyzed for the results of the mean wind speed, the wind power density, wind distribution and Annual Energy Productive (AEP) with Vestas V112-3.0 MW wind turbines. The wind climates of the sufficient mean wind speed for cut-in wind turbines were also analyzed to select wind farms. Finally, there were 2 selected sites: Prachuap Khiri Khan and Narathiwat sites which were the most optimal at 84 m of height, 4.1 and 4.5 m/s of the mean wind speed, and 121 and 181 W/m2 the power density, respectively. The most wind direction from the frequency of the distribution was 240° or South South-West (SSW) at both sites. Besides, in this study, the total wind farm capacity is 84 MW with 28 turbines at each site. At Prachuap Khiri Khan and Narathiwat sites, the total net AEP was 226.7 and 270.8 GWh, respectively with 0.33-0.38 of the capacity factor and 93.4-97.63% of wind farm efficiency.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectWinden_US
dc.subjectWind Energyen_US
dc.subjectWind Assessmenten_US
dc.subjectGulf of Thailanden_US
dc.subjectWAsPen_US
dc.subjectWind poweren_US
dc.titleStudy on Offshore Wind Energy Potential in the Gulf of Thailanden_US
dc.title.alternativeศึกษาศักยภาพพลังงานลมนอกชายฝั่งอ่าวไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.description.abstract-thพลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือกที่สามารถนำมาใช้ได้อย่างยั่งยืนจากการที่มีอยู่อย่าง ไม่จำกัดในธรรมชาติ โดยความเร็วและความหนาแน่นของลมบริเวณนอกชายฝั่งนั้น มีศักยภาพที่สูง เพื่อที่จะนำไปใช้ในการติดตั้งแหล่งฟาร์มของกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า ในงานศึกษาชิ้นนี้ได้ ทำการศึกษาศักยภาพของพลังงานลมตลอดแนวชายฝั่งบริเวณนอกชายฝั่งอ่าวไทยของประเทศไทย โดย มีการเก็บข้อมูลทุกๆ 10 นาที ในระยะเวลา 4 ปี เริ่มจากปี พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2563 จากสถานีวัดลม ตลอดแนวชาวฝั่งอ่าวไทย ทั้งหมด 10 สถานี ที่ความสูง 10 เมตร เหนือระดับพื้นดิน ในการจัดหาสถานี ที่เหมาะสมในการแหล่งฟาร์มพลังงานลมนั้นจะใช้กระบวนการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (Multicriteria Decision Analysis: MCDA) เข้ามาเป็นเครื่องมือเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ข้อมูลของลมนั้นจะ ใช้โปรแกรมวิเคราะห์ลม (Wind Atlas Analysis and Program: WAsP) ในการคำนวณหาผลลัพธ์ของ ค่าเฉลี่ยแรงลม (Mean Wind Speed), ความหนาแน่นของพลังงานลม (Wind Power Density), ทิศทางของลม (Wind Power Distribution) และหาค่าพลังงานที่ผลิตได้ในหนึ่งปี (Annual Energy Productive: AEP) ด้วยชนิดกังหันลม Vestas V112-3.0 MW โดยจะนำค่าเฉลี่ยแรงลมในพื้นที่ทีมีค่า เพียงพอในการทำให้กังหันลมทำงาน (Cut-in wind speed) มาวิเคราะห์ในการเลือกแหล่งฟาร์มกังหัน ลม สุดท้ายนี้จากสถานีที่ได้ทำการเลือกศึกษาทั้งหมด คงเหลือสถานีที่เหมาะสมในการติดตั้งกังหันลม สำหรับฟาร์มพลังงานลม 2 สถานี ได้แก่ พื้นที่สถานีประจวบคีรีขันธ์ และสถานีนราธิวาส ซึ่งมีความ เหมาะสมในการติดตั้ง ที่ความสูง 84 เมตร จะมีค่าเฉลี่ยแรงลมอยู่ที่ 4.1 และ 4.5 เมตร/วินาที และค่า ความหนาแน่นของพลังงานลมอยู่ที่ 121 และ 181 วัตต์/ตารางเมตร ตามลำดับ โดยที่ทั้ง 2 สถานีนั้นมี ทิศทางของลมเฉลี่ยมากที่สุดจากทางทิศใต้และตะวันตกเฉียงใต้ (South South-West: SSW) หรือ 240 องศา และค่าพลังงานทั้งปีที่ผลิตได้จากแหล่งฟาร์มกังหันลมทั้งหมด 84 เมกะวัตต์ จากกังหันลม 28 ต้น ที่พื้นที่สถานีประจวบคีรีขันธ์ และสถานีนราธิวาสจะอยู่ที่ 226.7 และ 270.8 จิกะวัตต์-ชั่วโมง ตามลำดับ พร้อมกับอัตราความสามารถในการผลิตไฟฟ้า (Capacity Factor: C.F.) อยู่ที่ 0.33 กับ 0.38 และประสิทธิภาพของฟาร์มกังหันลมคือ 93.4% กับ 97.63% ตามลำดับen_US
Appears in Collections:220 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310120018.pdf4.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons