Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา-
dc.contributor.advisorประภาพร ชูกำเหนิด-
dc.contributor.authorนราจันทร์ ปัญญาวุทโส-
dc.date.accessioned2023-02-23T09:22:30Z-
dc.date.available2023-02-23T09:22:30Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17846-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารทางการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2564en_US
dc.description.abstractThe main objectives of this research were to describe the meaning and experience of safety participation of professional nurses at Hatyai Hospital during the COVID-19 pandemic. The research was conducted using Husserl’s qualitative phenomenological approach. The participants included 14 professional nurses working in the care unit of at-risk and COVID-19 patients. Data were collected through individual in-depth interviews and analyzed using Colaizzi's method to explore the experiences of professional nurses. The findings were as follows: 1. For the meaning of safety participation during the COVID-19 pandemic 2 themes emerged: 1) Cooperating to provide safety for ourselves, patients, colleagues and communities; and 2) Dedication,sacrifice and responsibility to overcome the pandemic crisis. 2. For the experiences of safety participation during the COVID-19 pandemic 7 themes emerged: 1) Turn panic into awareness; 2) Adjust fear to courage to take care of the patient in strict accordance with the anti-infection guidelines; 3) Co - think, co - plan in advance to reduce the risk; 4) Get knowledge and practice skills often for fluency when doing real work; 5) Use resources wisely - for the next day will be enough; 6) Encourage colleagues to be prepared for any risk situation; and 7) Talk and advise people around them to protect themselves and their communities. This research can be used as a basic guideline for improving the development of safety work systems. In addition, it can be used for crisis management planning to deal with the epidemic crisis of emerging infectious diseases, as well us improving the quality to be effective and sustainable.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัยen_US
dc.subjectการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19en_US
dc.subjectการจัดการภาวะวิกฤตen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วยen_US
dc.titleประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพในการมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัยในภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeProfessional Nurses’ Experiences of Safety Participation During the COVID-19 Pandemic, Hatyai Hospital, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Nursing Administration)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการให้ความหมายและประสบการณ์การมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัยในภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19 ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลหาดใหญ่ โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาตามแนวคิดของ Husserl ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานที่ดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงและ ผู้ติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 14 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลของ Colaizzi ผลการศึกษา มีดังนี้ 1. ความหมายของการมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัยในภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19 ประกอบด้วย 2 ประเด็น คือ 1) การให้ความร่วมมือเพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับตนเอง ผู้ป่วย เพื่อนร่วมงาน และชุมชน 2) การทุ่มเท เสียสละ รับผิดชอบต่อหน้าที่เพื่อให้ผ่านพ้นวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค 2. ประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพในการมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัยในภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด-19 ประกอบด้วย 7 ประเด็น ดังนี้ 1) เปลี่ยนความตระหนกเป็นความตระหนัก 2) ปรับความกลัวเป็นความกล้าเข้าไปดูแลผู้ป่วยตามแนวทางป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด 3) ร่วมคิด ร่วมออกแบบงานล่วงหน้าเพื่อลดความเสี่ยง 4) หาความรู้และฝึกทักษะบ่อยๆเพื่อความคล่องแคล่วเวลาทำจริง 5) ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเพื่อวันหน้าจะได้เพียงพอ 6) ให้กำลังใจเพื่อนร่วมงานให้พร้อมรับสถานการณ์ความเสี่ยง และ 7) พูดคุย แนะนำคนรอบข้างให้ป้องกันตนเองและชุมชน การศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาระบบงานด้านความปลอดภัย และใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเตรียมความพร้อมรับมือการจัดการภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ รวมถึงพัฒนางานคุณภาพด้านอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนen_US
Appears in Collections:649 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210420018.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons