Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงษ์พิช เพชรสกุลวงศ์-
dc.contributor.authorอัมรินทร์ โรจนภัทรานนท์-
dc.date.accessioned2021-05-17T09:02:34Z-
dc.date.available2021-05-17T09:02:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14123-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความเสี่ยงทางการเงินen_US
dc.subjectการเงิน การจัดการen_US
dc.titleการบริหารความเสี่ยงธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeRisk Management of Construction Business in Hatyai, Songkhlaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงธุรกิจรับเหมา ก่อสร้างในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ทำการวิจัยโดยใช้แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลจาก ผู้บริหารหรือผู้มีอานาจในการตัดสินใจ จากกลุ่มตัวอย่างหน่วยธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในอาเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จา นวน 80 ราย จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ ชาย อายุระหว่าง 46 – 50 ปี สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตา แหน่งงานระดับเจ้าของกิจการ มี ประสบการณ์ในการทา งานมากกว่า 25 ปี เป็นประสบการณ์จากองค์กรปัจจุบันมากกว่า 20 ปี การ รับเหมาก่อสร้างเป็นประเภทอาคารที่อยู่อาศัย บริหารงานแบบหุ้นส่วนภายในครอบครัวหรือเครือ ญาติ ทุนจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทมีค่ากลางอยู่ที่ 4 ล้านบาท แหล่งเงินทุนได้มาจากการกู้ยืมสถาบัน การเงินหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่ให้ความช่วยเหลือ ธุรกิจมีจา นวนพนักงานประจา ระหว่าง 51 – 75 คน ยอดขายรวมในปีที่ผ่านมาระหว่าง 6 – 10 ล้านบาท และเมื่อพิจารณาระดับความเสี่ยงรายด้าน พบว่า ด้านปฏิบัติการมีค่าเฉลี่ยความเสี่ยงในระดับปานกลาง สาเหตุจากความไม่แน่นอนของราคา วัสดุเป็นสาคัญ การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการโดยรวมต้องเน้นเรื่องของการเปลี่ยน วิธีการหรือกระบวนการผลิตให้มีความเหมาะสมกับการดาเนินธุรกิจอยู่เสมอ ด้านการตลาดมี ค่าเฉลี่ยความเสี่ยงในระดับสูง สาเหตุจากความต้องการของลูกค้าที่ลดน้อยลงเป็นสาคัญ การบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านการตลาดโดยรวมควรเน้นเรื่องการจัดการช่องทางการจัดจาหน่าย โดย พิจารณาทา เลที่ตั้งให้อยู่ในพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้โดยง่าย ด้านการเงินหรือเครดิตมี ค่าเฉลี่ยความเสี่ยงในระดับสูง โดยสาเหตุจากการที่ลูกค้าไม่ชาระค่าก่อสร้างเป็นสาคัญ การบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านการเงินหรือเครดิตโดยรวมควรเน้นเรื่องการปรับโครงสร้างหนี้ และด้านการ บริหารจัดการมีค่าเฉลี่ยความเสี่ยงในระดับปานกลาง สาเหตุจากแผนการก่อสร้างไม่สอดคล้องกับ ระยะเวลาเป็นสาคัญ การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการโดยรวมควรเน้นเรื่องการ ประเมินผลและการควบคุมแผนงานen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.