Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดชนก เชิงเชาว์, ชิดชนก-
dc.contributor.authorคาลี, เพ็ญศรี-
dc.date.accessioned2018-03-21T04:12:22Z-
dc.date.available2018-03-21T04:12:22Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติระดับท้องถิ่น (Local Norm) ของแบบประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 390 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากผลการวิจัยพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สร้างขึ้นตามแนวคิดของ Likert เป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 8 ประการ ได้แก่ ความสามารถด้านวิชาการ ความความสามารถด้านเทคโนโลยี ความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม ความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย ความสามารถด้านการให้และส่งเสริมความร่วมมือ ความสามารถด้านการสื่อสารการสื่อสาร ความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถด้านการดูแลเอาใจใส่ผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการสอนของครูด้านความสามารถด้านการดูแลเอาใจใส่ผู้เรียน อยู่ในระดับสูงสุด ส่วนประสิทธิภาพการสอนครูด้านความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย อยู่ในระดับต่ำสุด และรองลงมา คือ ความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม ดังนั้น จึงควรให้ครูมีการพัฒนาด้านความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย และด้านความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมอย่างจริงจัง เพื่อให้ตรงกับความต้องการของครูในยุคศตวรรษที่ 21 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติระดับท้องถิ่น (Local Norm) ของแบบประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 390 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จากผลการวิจัยพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21 สร้างขึ้นตามแนวคิดของ Likert เป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 8 ประการ ได้แก่ ความสามารถด้านวิชาการ ความความสามารถด้านเทคโนโลยี ความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม ความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย ความสามารถด้านการให้และส่งเสริมความร่วมมือ ความสามารถด้านการสื่อสารการสื่อสาร ความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถด้านการดูแลเอาใจใส่ผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการสอนของครูด้านความสามารถด้านการดูแลเอาใจใส่ผู้เรียน อยู่ในระดับสูงสุด ส่วนประสิทธิภาพการสอนครูด้านความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย อยู่ในระดับต่ำสุด และรองลงมา คือ ความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึม ดังนั้น จึงควรให้ครูมีการพัฒนาด้านความสามารถด้านการสร้างเครือข่าย และด้านความรู้ความสามารถด้านการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมอย่างจริงจัง เพื่อให้ตรงกับความต้องการของครูในยุคศตวรรษที่ 21 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ The objectives of this study were to develop and evaluate teaching efficiency tool for teachers in the 21st century for teachers under the jurisdiction of primary education in the three southern border provinces. In addition, the local norm of teachers in three southern border provinces was also created. The samples consisted of 390 teachers selected by random sampling from the jurisdiction of primary education in the three southern border provinces. Based on developmental research, the teaching efficiency tool for teachers in the 21st century was constructed in form of 5 – level Likert scale and consisted of 8 major factors as follow: content, computer integration, constructivism, connectivity, collaboration, communication, creativity and caring. Results showed that teaching efficiency of caring factor was at the highest level and that of connectivity and constructionist factors was at the lowest level. It is recommended that connectivity and constructionist has to be upgraded seriously to meet the need of teaching efficiency in the 21st century for teachers in three southern border provinces.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีth_TH
dc.subjectสามจังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.subjectการจัดการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการสอนในศตวรรษที่ 21สำหรับ ครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Evaluation Instrument for Teaching Efficiency of 21st Century under Primary Educational Service Area in Three Southern Border Provinces of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Measurement and Educational Research)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา-
Appears in Collections:276 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1411.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.