Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/6968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมแก้ว รุ่งเลิศเกรียงไกร-
dc.contributor.authorยุพาวดี สมบูรณกุล-
dc.date.accessioned2011-01-11T09:26:23Z-
dc.date.available2011-01-11T09:26:23Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/6968-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/222759-
dc.description.abstractThe objective of the study is to investigate and atiempt to bridge the widening gap between the growing sophisticatio tion of theory and practice of corporate social responsibility (CSR). The CSR of Para rabber industry, problems confronting the development of CSR were examined. The metbods, the industry population were listed directory of five provinces, namely, Songkhin, Nakornsidharn unmarat, Thung, Pattalung and Satun. A group of individuals from which purposive 88 samples w s were taken for measurement. Structured question mnaires of semi-qualitative were implemented at 95% of level of confidence. The research findings included the Followings: 1) Paru rubber industry profile revealed that 523 pereent were located in Songkhla province, managemnent level were 3-10 persons. Operational staffs were 80 pereent of workforce below 100 persons; and 70 percent of workforce below 200 persons. Initial capital for investment, 51.I pereent, w t, was in the range of I-50 million baht. 22.7 percent of the industry have been openating mere than 20 years. Registered corporate as crape rubber and conoentrated latex, and 23.2 percent were export-oriented firms. 2) Management experience of industry exccutives were above 6 years, 94.3 percent were Thai Buddhists with bachelor degree attainment or higber. Tbe study also revealed that 19.8 percent of respondents take responsibility more than 1 firms located in Songkhla and another provinces. 3) Conceming the corporate social responsibility, approximately 78.4 porcent of executives stated that they emphasize the practice of corpornte social responsibility relating to all stakebold sIders at mooderate level of responsibility or higher in all aspects. 4) Probleims and obstacles confronting tbe industry roles and practioes of CSR were itemized as follows: Para industry overall problems 75.6 percent, labor sbortnge 40.2 percent, community complaints 32.9 percent, lack of govemment support 29.3 percent, Complaint on waste water pollution and ervironnvent management system 18.3 percent, lcgal enforeement inflexible 9.8 percen ent, and export barriers 4.9 peroent. Operational scheme on CSR stated that their enterprises have inndequnte budget, 55.6 percent. Variety of customers did not. understa stand tbe roles and practices of CSR. Customers complaints on environmental issues 20.4 pereent. Govem mrnent policy on CSR was inaccurale, 20.4. pereent, industry legpl constraint 16.7 pereent and lack of mass comruni ication and public relation on CSR. 9.3 pereent. The recommend ndstions included: (1) Parn mbber industry publicize their roles and practices of CSR, especially via mass commun municntion and public relation; (2) entrepreneurs sustainability will also base on CSR, and (3) Public sectons rs and Southemn Para Rubber associations should regularly participate in the roles and practices of CSR.-
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางพารา ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.titleความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมยางพาราใน 5 จังหวัดภาคใต้en_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมยางพาราใน 5 จังหวัดภาคใต้-
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด และบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมยางพารา และปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาบทบาทความรับผิคชอบต่อสังคมของธุรกิงโรงงานอุตสาหกรรมยางพารา ประชากรคือ กิจการในอุตสาหกรรมยางพาราที่มีรายชื่อปรากฏในทำเนียบอุตสาหกรรมของจังหวัดในภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดสงขลา นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง และสตูล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารธุรกิจ/เจ้าของกิจการและเป็น ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจและดูแลงานในส่วนที่เกี่ยวช้องกับภาพลักษณ์และความสัมพันธ์กับชุมชนของกิจการที่ถูกเลือกด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย (purposive sampling) รวมทั้งสิ้น 88 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่สร้างขึ้นด้วยแบบ Semni-qualitative ณ ระดับความเชื่อมั่น 95% ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ลักษณะทั่วไปของอุตสาหกรรมยางพารา ร้อยละ 52.3 ของกิจการกลุ่มยางพาราตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา จำนวนผู้บริหารในกิจการอยู่ระหว่าง 3-10 คน ร้อยละ 80 มีพนักงานระดับปฏิบัติการต่ำกว่า 100 คน และร้อยละ 70 มีคนงานต่ำกว่า 200 คน เงินลงทุนครั้งแรกของกิจการ ร้อยละ 51.1 อยู่ในช่วง 1-50 ล้านบาท ร้อยละ 22.7 ของกิจการเปิดนานกว่า 20 ปี ร้อยละ 46.6 จดทะเบียนเป็นโรงงานผลิตยางแผ่น ยางเครป และน้ำยางข้น และ ส่งออกร้อยละ 23.2 ของกิงการส่งออก 2. ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้บริหารที่มีประสบการณ์มากกว่า 6 ปีขึ้นไป ร้อยละ 94.3 เป็นคนไทย ร้อยละ 93.2 เป็นชาวพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีทั้งหญิงและชาย ร้อยละ 88.6 มีอายุ 31 ปีขึ้นไป และร้อยละ 19.3 ตอบว่าต้องดูแลกิจการในกลุ่มมากกว่า 1 แห่ง มีทั้งกิจการประเภทเดียวกันในจังหวัดอื่นและกิจการที่จดทะเบียนคนละประเกทในจังหวัดเดียวกัน 3.แนวคิดและบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้บริหารร้อยละ 78.4 ยืนยันว่ากิจการที่ตนดูแลมีแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคม และผลการดำเนินการของกิจการยางพาราเกี่ยวกับความรับผิดชอบทางสังคมต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงมากในเกือบทุกกิจกรรม 4. ปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคม กิจการยางพาราเรียงลำดับปัญหาที่ประสบ ร้อยละ 75.6 เผชิญกับภาวะขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 40.2 มักได้รับการร้องขอการสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนบ่อยครั้ง ร้อยละ 32.9 ระบุว่ารัฐบาลไม่ดูแลเท่าที่ควรและกิจการต้องช่วยตัวเอง กิจการร้อยละ 29.3 เคยถูกร้องเรียนเรื่องน้ำเสียและโรงงานส่งกลิ่นเหม็น ร้อยละ 18.3 เจอปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงงาน ในขณะที่ร้อยละ 9.8 มองว่ากฎหมายไม่ยืดหยุ่น และร้อยละ 4.9 ระบุว่กิจการต้องเจอกับมาตรการกีดกันจากตลาด ส่งออกอุปสรรคในการดำเนินการความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ ตามความเห็นของผู้บริหารพบว่า ร้อยละ 5ร.6 กิจการมีงบประมาณเพื่อการนี้ไม่เพียงพอ ร้อยละ 25.9 ลูกค้ามีความหลากหลายไม่เข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมที่แท้จริง และการร้องเรียนจากลูกค้าเรื่องสิ่งแวดล้อม ร้อยละ20.4 รัฐบาลที่ถือแนวปฏิบัติไม่แน่นอน เลือกปฏิบัติและไม่ให้ความช่วยเหลือร้อยละ 16.7 ปัญหาด้านกฎหมาย และร้อยละ 9.3 ด้านสื่อมวลชนเนื่องจากกิจการไม่ได้ทำการประชาสัมพันธ์กิจการ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม คือ (1) กิจการยางพาราต้องเพิ่มความสนใจทั้งทางด้านการดำเนินงานและการประชาสัมพันธ์ (2) ผู้ประกอบการสร้างความยั่งยืนของกิจการด้วยความเข้าใจบทบาทให้ชัดเจน (3) ภาครัฐและสมาคมธุรกิจยางพาราในภาคใด้ควรเข้ามามีส่วนร่วมกำหนดบทบาทและการดำเนินการ CSR ของกิจการในอุตสาหกรรม-
Appears in Collections:460 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
321055.pdf111.16 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons