Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/5930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล-
dc.contributor.authorยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล-
dc.date.accessioned2010-09-22T09:26:41Z-
dc.date.available2010-09-22T09:26:41Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/5930-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/215996-
dc.description.abstractThe enhancement of paddy drying rate using high voltage electrostatic field project was conducted to study the thermo-physical properties and the drying kinetics of fresh paddy with high electrostatic field treatment. For determining the rice property, apparent density, specific heat capacity, percentage of void and equilibrium moisture content was studied. The results concluded that apparent density, specific heat capacity and percentage of void were linearly related to moisture content. An equilibrium moisture content determined by Henderson (1952) model was the best fitting model to the experimental results for Lek Nok Pattani and Sung Yod rice while Chung and Pfost (1967) model shows good correlation to experimental data of Khao Dawk Mali 105 paddy. To determine drying kinetic of paddy with initial moisture contents of 25.3-34.8% dry-basis, paddy was discharged with high voltages of 6-10 kVa0, electrode gaps of 2 and 3 cm and discharges time of 20-40 min. After electrical treatment paddy was batch dried by hot air temperature of 40-70°C with an air flow rate of 1.9 m/s. The results showed that drying rate directly depended on electrical voltage, electrical discharge time and drying temperature exponentially as a function of drying time. To determine quality of rice, it showed that high voltage had no effect on physical quality (germination, whiteness and yellowness value) however, high voltage has effect to head rice yield. Consequently, high voltage and drying temperature had insignificant effect on the chemical quality of rice. From evaluation of the physicochemical quality and sensory test, it showed that high voltage and drying temperature can accelerate rice aging. The overall acceptability was slightly decreased whilst aroma and glossiness value had insignificantly changed at confidence level of 95 %. Finally, from determination of specific energy consumption, the dried rice with high voltage electric field treatment tended to be slightly lower compared to the control sample.-
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะิวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectข้าว การอบแห้งen_US
dc.subjectไฟฟ้าแรงสูงen_US
dc.titleการเร่งอัตราการอบแห้งข้าวเปลือกชื้นด้วยเทคนิคสนามไฟฟ้าสถิตแรงสูงen_US
dc.title.alternativeEnhancement of paddy drying rate using high voltage electrostatic fielden_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์การเร่งอัตราการอบแห้งข้าวเปลือกชื้นด้วยเทคนิคสนามไฟฟ้าสถิตแรงสูง-
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Chemical Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี-
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Physics)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์-
dc.description.abstract-thโครงการวิจัยการเร่งอัตราการอบแห้งข้าวเปลือกชื้นด้วยเทคนิคสนามไฟฟ้าสถิตแรงสูง โดยทำการศึกษาสมบัติเชิงฟิสิกส์ความร้อน และจลนพลศาสตร์การอบแท้งของข้าวเปลือกที่ผ่านการ ดิสชาร์จด้วยสนามไฟฟ้าสถิตแรงสูง สมบัติเชิงฟิสิกส์ความร้อน ได้แก่ ความหนาแน่นปรากฏ ความร้อนจำเพาะ และร้อยละช่องว่างของอากาศ และทำ การศึกษาความชืนสมดุลของข้าวเปลือก พบว่า ความหนาแน่นปรากฏความร้อนจำเพาะ และร้อยละช่องว่างของอากาศมีความสัมพันธ์เชิงเส้นกับความชื้น ส่วนความชื้นสมดุล พบว่า สมการในรูปแบบของ Henderson (1952) อธิบายผลการทดลองของข้าวเล็บนก ปัตตานีและสังข์หยดได้ดีที่สุด และสมการของ Chung และ Pfost (1967) อธิบายผลการทดลองของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ได้ดีที่สุด การศึกษาจลนพลศาสตร์การอบแท้งของข้าวเปลือก ความชื้นเริ่มต้นในช่วง 25.3-34.8 % มาตรฐานแห้ง ดิสชาร์จด้วยความต่างศักย์ไฟฟ้า 6-10 kVac ระยะห่างระหว่างขั้วอิเล็กโตรด 2 และ 3 cm และระยะเวลาในการดิสชาร์จ 20-40 min ก่อนทำการอบแห้งต่อเนื่องไปแบบงวดด้วยลมร้อนที่ช่วงอุณหภูมิ 40-70°C และความเร็วลมร้อน 1.9 m/s พบว่า อัตราการอบแห้งแปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ระยะเวลาในการดิสชาร์จ และอุณหภูมิอบแห้งในรูปแบบสมการเอกซ์โพเนนเชียลกับเวลาในการอบแห้ง คุณภาพข้าวหลังการอบแห้ง พบว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้าไม่มีผลต่อคุณภาพทางกายภาพ (ร้อยละการงอก ความขาว และความเหลือง) แต่มีผลต่อร้อยละข้าวเต็มเมล็ด ขณะที่ความต่างศักย์ไฟฟ้า และอุณหภูมิอบแห้งไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ต่อคุณสมบัติทางเคมี แต่มีผลต่อคุณภาพทางเคมีกายภาพโดยส่งผลให้ข้าวมีแนวโน้มเก่าขึ้น กรณีทดสอบการยอมรับในการบริโภค พบว่า สีเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ความอ่อนนุ่ม การเกาะกันเป็นก้อน และคุณลักษณะโดยรวมลดลง อย่างไรก็ดี กลิ่น และความเลื่อมมันไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับข้าวควบคุมที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % เมื่อพิจารณาความสิ้นเปลืองพลังงาน พบว่า ข้าวเปลือกที่ผ่านการดิสชาร์จไฟฟ้าก่อนอบแห้งมีแนวโน้มตํ่ากว่าข้าวควบคุมเล็กน้อย-
Appears in Collections:230 Research
332 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
313421.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons